23123 : โครงการอนุรักษ์กล้วยไม้พื้นถิ่นที่ถูกคุกคาม จังหวัดแพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/2/2568 9:53:31
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  บุคลากร และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ที่เข้าร่วมโครงการ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มณฑล  นอแสงศรี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.3 ผลการจัดอันดับ QS ด้านเกษตรและป่าไม้
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.3.1 ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-1.การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68-1.1.3 ผลการจัดอันดับ QS ด้านเกษตรและป่าไม้
กลยุทธ์ 68-1.1.3.1 ผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและป่าไม้เพื่อให้ได้รับการจัดอันดับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กล้วยไม้พื้นถิ่น เป็นพืชที่มีความสำคัญทางนิเวศวิทยาและความหลากหลายทางชีวภาพ มีบทบาทเป็นดัชนีชี้วัดความสมบูรณ์ของระบบนิเวศป่าไม้ และเป็นทรัพยากรพันธุกรรมที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน การบุกรุกป่า และการทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยของกล้วยไม้พื้นถิ่น ส่งผลให้หลายสายพันธุ์ตกอยู่ในภาวะคุกคามและมีแนวโน้มลดจำนวนลง จังหวัดแพร่เป็นหนึ่งในพื้นที่ที่พบกล้วยไม้พื้นถิ่นหลากหลายชนิด โดยเฉพาะในเขตป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ซึ่งเป็นระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลการสำรวจภาคสนามพบว่า กล้วยไม้พื้นถิ่นบางชนิดกำลังถูกคุกคามจากการสูญเสียแหล่งอาศัยและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และขยายพันธุ์จึงเป็นแนวทางสำคัญในการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและป้องกันการสูญพันธุ์ของพันธุ์พืชที่มีคุณค่าเหล่านี้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ มีบทบาทสำคัญในการเป็นศูนย์กลางการอนุรักษ์และฟื้นฟูพันธุกรรมกล้วยไม้พื้นถิ่น โดยมุ่งเน้นการบูรณาการองค์ความรู้ด้านพฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยา และการอนุรักษ์ทรัพยากร เพื่อสร้างระบบการอนุรักษ์ที่เป็นรูปธรรมและยั่งยืน โครงการ "การอนุรักษ์กล้วยไม้พื้นถิ่นที่ถูกคุกคาม จังหวัดแพร่" จึงจัดทำขึ้นเพื่อเก็บรวบรวม อนุบาล และขยายพันธุ์กล้วยไม้พื้นถิ่น โดยใช้วิธีการอนุรักษ์ในแหล่งธรรมชาติ (In situ) และนอกแหล่งธรรมชาติ (Ex situ) ควบคู่กับการศึกษาลักษณะทางนิเวศวิทยาของแหล่งที่อยู่อาศัย เพื่อพัฒนาแนวทางการฟื้นฟูประชากรกล้วยไม้พื้นถิ่นให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนในระบบนิเวศของจังหวัดแพร่ โครงการนี้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการเป็นศูนย์กลางการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ การส่งเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และการขับเคลื่อนแนวทางมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์และฟื้นฟูกล้วยไม้พื้นถิ่นที่ถูกคุกคามในจังหวัดแพร่ การเพิ่มจำนวนประชากรกล้วยไม้พื้นถิ่นในระบบนิเวศธรรมชาติและพื้นที่อนุรักษ์ของมหาวิทยาลัย การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ให้แก่นักศึกษาและประชาชน โดยมีเป้าหมายให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นศูนย์กลางการอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้พื้นถิ่นในระดับภูมิภาค

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสำรวจ เก็บรวบรวม อนุบาล และฟื้นฟู กล้วยไม้พื้นถิ่นที่ถูกคุกคามในจังหวัดแพร่ โดยใช้แนวทางการอนุรักษ์ในแหล่งธรรมชาติ (In situ) และนอกแหล่งธรรมชาติ (Ex situ)
2. เพื่อศึกษาลักษณะทางนิเวศวิทยาและปัจจัยแวดล้อมของกล้วยไม้พื้นถิ่น เพื่อพัฒนาแนวทางการฟื้นฟูและเพิ่มประชากรกล้วยไม้พื้นถิ่นให้สามารถดำรงอยู่ในระบบนิเวศธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน
3. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้าน พฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยา และการอนุรักษ์ทรัพยากร สำหรับนักศึกษา ผ่านการศึกษาและวิจัยเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และทักษะทางวิชาการ
4. เพื่อให้โครงการมีความสอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยสนับสนุนการเป็นศูนย์กลางการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และการขับเคลื่อนแนวทางมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กล้วยไม้พื้นถิ่นในจังหวัดแพร่ที่ถูกคุกคามจากการสูญเสียแหล่งอาศัยและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้รับการช่วยชีวิต โดยการเก็บรวบรวมมาอนุบาล และฟื้นฟูในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และคืนสู่ธรรมชาติด้วยปลูกเกาะติดกับต้นไม้ที่เหมาะสมในบริเวณมหาวิทยาลัยฯ ในช่วงฤดูกาลที่เหมาะสม
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนกล้วยไม้พื้นถิ่นที่ได้รับการฟื้นชีวิต คืนสู่ป่าในบริเวณมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 ต้น 30
KPI 3 : จำนวนบุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติเข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 4 : แหล่งเรียนรู้กล้วยไม้พื้นถิ่นในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 5 : ร้อยละของชุมชน/หน่วยงานในชุมชนที่มีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อธรรมชาติ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 ร้อยละ 5
KPI 6 : จำนวนกล้วยไม้พื้นถิ่นในจังหวัดแพร่ที่ถูกคุกคามจากการสูญเสียแหล่งอาศัยและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้รับการช่วยชีวิต
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ต้น 50
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : องค์ความรู้เรื่องการช่วยชีวิตกล้วยไม้พื้นถิ่นที่ถูกคุกคามจากการสูญเสียแหล่งอาศัยอละการเปลี่ยนแปลงของสถาพแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟูและคืนสู่ธรรมชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชุดความรู้ 1
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิขาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กล้วยไม้พื้นถิ่นในจังหวัดแพร่ที่ถูกคุกคามจากการสูญเสียแหล่งอาศัยและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้รับการช่วยชีวิต โดยการเก็บรวบรวมมาอนุบาล และฟื้นฟูในพื้นที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และคืนสู่ธรรมชาติด้วยปลูกเกาะติดกับต้นไม้ที่เหมาะสมในบริเวณมหาวิทยาลัยฯ ในช่วงฤดูกาลที่เหมาะสม
ชื่อกิจกรรม :
1 การเก็บรวบรวมและช่วยชีวิตกล้วยไม้พื้นบ้านบริเวณถ้ำผานางคอยจากการปรับปรุงภูมิทัศน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
2 การอนุบาลและฟื้นฟูกล้วยไม้พื้นบ้าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
3 การจัดทำข้อมูลกล้วยไม้ที่นำมาอนุบาลและฟื้นฟู

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
4 การปลูกคืนกล้วยไม้พื้นบ้าน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
5 การสรุปและจัดทำรายงานผลโครงการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
โครงการ "การอนุรักษ์กล้วยไม้พื้นถิ่นที่ถูกคุกคาม จังหวัดแพร่" ได้รับการออกแบบให้เป็นส่วนหนึ่งของการบูรณาการกับภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ โดยเชื่อมโยงกับการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ด้านพฤกษศาสตร์และการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพอย่างเป็นระบบ ในด้าน การเรียนการสอน โครงการนี้สอดคล้องกับรายวิชา 11200310 พฤกษศาสตร์ ซึ่งเป็นรายวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา กายวิภาคศาสตร์ และอนุกรมวิธานของพืช นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการจะได
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
การวิจัย โครงการนี้สนับสนุนงานศึกษาวิจัยด้าน พฤกษศาสตร์ นิเวศวิทยา และการอนุรักษ์ทรัพยากร โดยเน้นการสำรวจ อนุบาล และฟื้นฟูประชากรกล้วยไม้พื้นถิ่นที่ถูกคุกคามในจังหวัดแพร่ การศึกษาเน้นการเก็บข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะทางนิเวศวิทยา ปัจจัยแวดล้อม และรูปแบบการกระจายตัวของกล้วยไม้พื้นถิ่น รวมถึงการพัฒนากลยุทธ์การอนุรักษ์ที่เหมาะสม อีกทั้งผลการวิจัยจากโครงการนี้จะสามารถนำไปเผยแพร่ในเวทีวิชาการระดับชาติและนานาชาติ รวมถึงสามารถต่อยอดเป็นต้นแบบสำหรับการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในพื้นที่อื่น ๆ
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
การบริการวิชาการ โครงการนี้สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยและการปฏิบัติการภาคสนามไปพัฒนาเป็น หลักสูตรฝึกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์และขยายพันธุ์กล้วยไม้พื้นถิ่น เพื่อให้ความรู้แก่บุคลากร นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ องค์ความรู้ที่พัฒนาขึ้นยังสามารถนำไปเผยแพร่ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ งานประชุมวิชาการ และกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์ของมหาวิทยาลัย เพื่อกระตุ้นจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพให้แก่สังคม นอกจากนี้ โครงการยังสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่มุ่งเน้นการเป็นศูนย์กลางด้านการอ
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ