23106 : โครงการการพัฒนาองค์ความรู้และการจัดการทางด้านทรัพยากรชีวภาพในจังหวัดแพร่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.อภิญญา ชุ่มอินถา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/3/2568 15:12:04
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
14/03/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ และประชาชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภัทราพร  ผูกคล้าย
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 4. การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-4.การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68-4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68-4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68-4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การพัฒนานวัตกรรมสารที่มีกลิ่นหอมจากต้นงิ้ว ในพื้นที่จังหวัดแพร่ และ จังหวัดภาคเหนืออื่นๆ สามารถที่จะนำส่วนประกอบของต้นงิ้ว ซึ่งมีลักษณะสำคัญลำต้นสูงใหญ่ เป็นไม้เนื้ออ่อน เติบโตรวดเร็วช่วงเรือนยอด มีกิ่งก้านสาขา มีหนามแหลมใหญ่ทั่วต้น ชอบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ เป็นไม้ในวงศ์ Bombax ceiba L พบว่าก้านเกสรตัวผู้ตรงกลาง นำมาตากแดดให้แห้ง ห่อกระดาษ หรือใส่ภาชนะที่มีฝาปิด สามารถมาทำเป็นอาหารพื้นเมืองประจำถิ่น นอกจากนี้พบว่าไม้ยืนต้นชนิดนี้ มีการสร้างนวัตกรรมด้วยนำส่วนของดอกที่มีกลิ่นของดอกไม้ โดยให้สารกลุ่มพอลีฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์ สารรงควัตถุ สารสีต่างๆ ทำให้สามารถออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และผลิตเป็นเครื่องหอมต่างๆ การใช้ประโยชน์จากพืชท้องถิ่นในภาคเหนือได้มาจากการพัฒนาของวนเกษตร ระบบเกษตรอินทรีย์ เกษตรอัจฉริยะ ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ทางด้านการเกิดสุขภาวะที่ยั่งยืน การส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ การสร้างรายได้จากงานบริการวิชาการที่ใช้ความรู้จากชุมชน เพื่อสร้างเป็นเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทั้งนี้จะเป็นการตอบตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ทางด้านเกษตรอินทรีย์ เกษตรอัจฉริยะ เกษตรสุขภาวะ สนับสนุนงานทางด้านเกษตรและป่าไม้ มีผลการจัดอันดับ QS ranking และสร้างกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะในศตวรรษที่ 21 ดังนั้นโครงการบริการวิชาการนี้ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อปัญหาฝุ่นควัน นำไปสู่สังคมที่มีรากฐานทางการเกษตรที่ยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อศึกษาเอกลักษณ์ของพืชด้วยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทางการเกษตร
2 เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
3 เพื่อพัฒนาทักษะด้านผู้ประกอบการสำหรับนักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติและประชาชน
4 เพื่อรวบรวมข้อมูลสายพันธุ์และการเปรียบเทียบพันธุ์พืชจากต่างถิ่น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศึกษาเอกลักษณ์ของพืชสมุนไพรด้วยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทางการเกษตร
KPI 1 : นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศึกษาเอกลักษณ์ของพืชสมุนไพรด้วยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทางการเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
อบรม “การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสารสำคัญในต้นงิ้วในจังหวัดแพร่”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 14/03/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ละออทิพย์  นะโลกา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศิริโสภา อินขะ  วรรณวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัชฌิมา  ศุภวิมลพันธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศศิมินตรา  บุญรักษา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา ทพ 330 เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
งานวิจัย 1) การสร้างมูลค่าเพิ่มจากพืชท้องถิ่นในภาคเหนือตอนบน
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล