23093 : โครงการยกระดับศักยภาพของนักศึกษาและคณาจารย์เพื่อสร้างการขับเคลื่อน “กระบวนการตั้งรับ ปรับตัว” เพื่อให้เท่าทันต่อสภาวะความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ (Climate Change Adaptation on Learning Process)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 11/2/2568 9:13:26
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
26/02/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  120  คน
รายละเอียด  คณาจารย์สาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการป่าไม้ สาขาวิชาการป่าไม้ และสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้- แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จำนวน 10 คน นักศึกษาสาขารัฐศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการป่าไม้ สาขาวิชาการป่าไม้ และสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมป่าไม้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้- แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จำนวน 110 คน รวมทั้งสิ้น 120 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ที่จัดสรรให้สาขาวิชารัฐศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2568 8,250.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โอฬาร  อ่องฬะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.4 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.4.1 ผลักดันการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยและผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-6. การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 68-6.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่พัฒนาตามยุทธศาสตร์ /อัตลักษณ์ของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 68-6.1.2 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้าน SDGs เป้าหมายที่ 13 Climate Action
กลยุทธ์ 68-6.1.2.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติที่มีการเผยแพร่ให้หน่วยงานท้องถิ่นหรือชุมชนในพื้นที่ได้รับทราบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ (Climate Change) ถือเป็นหนึ่งในความท้าทายระดับโลกที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของมนุษยชาติ ความแปรปรวนของสภาพอากาศ การเกิดภัยพิบัติที่รุนแรงขึ้น รวมถึงความไม่แน่นอนทางการเกษตรและความเสี่ยงด้านสุขภาพ ล้วนเป็นผลกระทบที่ทุกภาคส่วนต้องเผชิญและหาแนวทางในการตั้งรับและปรับตัวอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ สถาบันการศึกษามีบทบาทสำคัญในการสร้างองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการรับมือกับปัญหาดังกล่าวอย่างยั่งยืน สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและคณาจารย์ในการเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และการปฏิบัติจริง โดยการบูรณาการองค์ความรู้ด้านรัฐศาสตร์กับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โครงการนี้จึงจัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการวิเคราะห์สถานการณ์ การวางแผนรับมือ และการปรับตัวให้เท่าทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเพื่อสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) โดยเฉพาะเป้าหมายที่ 13: Climate Action ซึ่งเน้นการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศผ่านการสร้างความตระหนักรู้ การส่งเสริมการศึกษา และการพัฒนานโยบายที่ตอบสนองต่อวิกฤตดังกล่าว โครงการนี้ไม่เพียงแต่จะช่วยยกระดับศักยภาพของนักศึกษาและคณาจารย์ในการขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรู้ที่ทันสมัยและตอบโจทย์สภาวะโลกที่เปลี่ยนแปลง แต่ยังสร้างพื้นฐานที่สำคัญในการเสริมสร้างความเข้าใจและความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและชุมชน เพื่อร่วมกันสร้างสังคมที่มีความยืดหยุ่นและพร้อมเผชิญกับความท้าทายทางภูมิอากาศในอนาคตได้อย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อเสริมเติมเต็มองค์ความรู้เพื่อเข้าใจและเท่าทันต่อสภาวะความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศโดยมุ่งเน้นการวิเคราะห์สถานการณ์สภาวะความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ
2 เพื่อสะท้อนบทเรียนและประสบการณ์ของชุมชนในการขับเคลื่อนการจัดการการปรับตัวภายใต้สภาวะความเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ยกระดับความรู้และแนวคิดในเชิงปฏิบัติการในมิติการพัฒนาเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (BCG Economy) อย่างยั่งยืนให้กับนักศึกษาและบุคลากรในสาขาวิชารัฐศาสตร์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความรู้ความเข้าใจต่อสภาวะความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศเพิ่มขึ้นของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
120 คน 120
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ยกระดับความรู้และแนวคิดในเชิงปฏิบัติการในมิติการพัฒนาเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (BCG Economy) อย่างยั่งยืนให้กับนักศึกษาและบุคลากรในสาขาวิชารัฐศาสตร์
ชื่อกิจกรรม :
อบรมแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับ “กระบวนการตั้งรับ ปรับตัว” เพื่อให้เท่าทันต่อสภาวะความเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ (Climate Change Adaptation on Learning Process)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โอฬาร  อ่องฬะ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัญจพร  คำโย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เกศินี  วีรศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อุบลวรรณ  สุภาแสน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ธนวัฒน์  ปินตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 120 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 120 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 450 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 450.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 450.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8250.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล