23083 : โครงการผลิตต้นกล้าพืชพันธุ์ดีเพื่อให้บริการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ดร.จันทร์เพ็ญ สะระ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/3/2568 9:41:27
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  20  คน
รายละเอียด  เกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 2568 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. จันทร์เพ็ญ  สะระ
นาง ทิพย์สุดา  ปุกมณี
นาง พินธรา  สำราญสกุล
นาง เดือนสว่าง  ดวงบาล
นาง สายบัว  เต๋จ๊ะ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.2 การพัฒนาเทคโนโลยี และองค์ความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยตลอดเวลา ให้ศูนย์ความเป็นเลิศ อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร และฐานเรียนรู้ด้านเกษตร ร่วมสร้างองค์ความรู้ในวิทยาการหลากหลายสาขามาผสมผสานเป็น Cross Disciplinary Collaboration โดยมีเกษตรเป็นรากฐานเพื่อนำความรู้สู่สังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส68-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ วส68-2.5 นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาชุมชน พัฒนาพื้นที่ สนับสนุนการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริ และสร้างรายได้
ตัวชี้วัด วส68-16. รายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ วส68-2.5.2 นำองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมของสำนักวิจัยฯ มาสนับสนุนการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการในลักษณะการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน รวมถึงการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การผลิตพืชในปัจจุบันได้นำเอาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเข้ามาช่วยในการขยายพันธุ์พืชเพื่อให้ได้ต้นกล้าที่มีคุณภาพ แข็งแรง ปลอดโรค ตรงตามพันธุ์ และในปริมาณมาก สามารถจัดการวางแผนการเพาะปลูกได้อย่างมีคุณภาพ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และยังช่วยเพิ่มผลผลิตในการปลูกพืชอีกทางหนึ่งด้วย งานปรับปรุงและขยายพันธุ์พืชและสัตว์ กองบริหารงานบริการวิชาการ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มีองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยและบริการวิชาการในการผลิตพืชทั้งพืชอาหาร พืชเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงสมุนไพรและไม้ประดับชนิดต่างๆ เพื่อให้บริการต้นกล้าพืชพันธุ์ดีที่มีคุณภาพแก่เกษตรกร ผู้ประกอบการ ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. 2567 งานปรับปรุงและขยายพันธุ์พืชและสัตว์ กองบริหารงานบริการวิชาการ สำนักวิจัยฯ ได้นำพืชอาหาร ได้แก่ กล้วยชนิดต่างๆ คือ กล้วยน้ำว้ายักษ์น้ำว้าปากช่อง น้ำว้ามะลิอ่อง กล้วยหอมทอง กล้วยนาค และหน่อไม้ฝรั่ง ตลอดจนสมุนไพรรากสามสิบ บุกเนื้อทราย มาผลิตเป็นต้นกล้าคุณภาพเพื่อให้บริการ นอกจากนี้ยังมีไม้ดอก เช่น มากาเร็ต เบญจมาศ และไม้ประดับชนิดอื่นๆ ไว้ให้บริการแก่เกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้ที่สนใจทั่วไปอีกด้วยโครงการ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชและผลิตต้นกล้าพันธุ์ดีเพื่อให้บริการนี้ เป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ในการผลิตพืชให้แก่เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป เป็นการสร้างความมั่นใจและเตรียมความพร้อมในการผลิตสำหรับประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ หรือนำไปปลูกในครัวเรือนเป็นการเพิ่มแหล่งอาหาร เพื่อการพึ่งพาตนเองอีกทางหนึ่ง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อผลิตต้นกล้าพืชเศรษฐกิจ
เพื่อให้บริการต้นกล้าพืชพันธุ์ดีแก่เกษตรกร ผู้ประกอบการ และผู้สนใจทั่วไป
เพื่อสร้างรายได้ให้แก่หน่วยงานให้เกิดความยั่งยืนสามารถพึ่งพาตนเองได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ต้นกล้าพืชพันธุ์ดี
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 20 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนเงินรายได้จากการจำหน่ายต้นกล้าพันธุ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100000 100000 100000 100000 บาท 400000
KPI 3 : จำนวนต้นกล้าพันธุ์กลุ่มไม้ดอก (มากาเร็ต กุหลาบหิน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 1000 1000 500 ต้น 3000
KPI 4 : จำนวนผู้เข้ารับบริการต้นกล้าพันธุ์ดี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 5 5 5 คน 20
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 20 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนต้นกล้าพันธุ์กลุ่มกล้วย (กล้วยหอมทอง กล้วยน้ำว้ายักษ์ กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง กล้วยน้ำว้าปากช่อง กล้วยนาค)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3700 3700 3700 3700 ต้น 14800
KPI 7 : จำนวนต้นกล้าพันธุ์กลุ่มพืชเศรษฐกิจอื่นๆ (หม่อนไต้หวัน วานิลลา หน่อไม้ฝรั่ง)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 500 500 500 ต้น 2000
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 20 20 20 ร้อยละ 90
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.04 ล้านบาท 0.04
KPI 10 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 20 ร้อยละ 80
KPI 11 : จำนวนต้นกล้าพันธุ์กลุ่มไม้ใบ (ตระกูลฟิโลเดนดรอน มอนสเตอร่า)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 50 50 50 ต้น 200
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ต้นกล้าพืชพันธุ์ดี
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การผลิตต้นกล้าพืชพันธุ์ดีด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นางทิพย์สุดา  ปุกมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางพินธรา  สำราญสกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางเดือนสว่าง  ดวงบาล (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสายบัว  เต๋จ๊ะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น Potassium nitrate, Clorox, Potassium dihydrogen phosphate, Ammonium nitrate เป็นต้น เป็นเงิน 35,000 บาท
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น ขุยมะพร้าว แกลบดำ ถุงเพาะชำ ปุ๋ยยูเรีย เป็นต้น เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล