23025 : โครงการหนึ่งหมู่บ้านหนึ่งเชฟอาหารไทย
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/1/2568 11:56:03
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
06/01/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  11  คน
รายละเอียด  ประชาชนทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณจากแหล่งอื่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณของสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม 2568 154,205.59
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา  วัฒนนภาเกษม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 4. การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68 MJU 4.1.6 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 68 MJU 4.1.1.3 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-4.การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68-4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68-4.1.6 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 68-4.1.6.1 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุนและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและโลก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมุ่งมั่นพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเกษตรและนวัตกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing) และพัฒนาทักษะของนักศึกษาด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านการลงมือปฏิบัติ ได้ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ รวมถึงการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ สร้างรายได้ให้แก่นักศึกษา ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) และสอดคล้องกับการพัฒนานักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับ การพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ โครงการหนึ่งหมู่บ้านหนึ่งเชฟอาหารไทยการแปรรูปที่ได้มาตรฐาน โดยมีการส่งเสริมการจากรัฐบาล ส่วนเป็นหส่วนหนึ่งของนโยบาย Soft Power ที่มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะ อาชีพ รวมทั้งยกระดับศักยภาพเชฟอาหารไทย แก้ไขความยากจน และสร้างชื่อเสียงของประเทศไทยผ่านอาหารไทย ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง โดยโครงการนี้มีส่วนร่วมของนักศึกษา อาจารย์ และชุมชนในพื้นที่ เพื่อนำองค์ความรู้และนวัตกรรมการแปรรูอาหารไทยไปใช้ในเชิงปฏิบัติจริง สร้างบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อฝึกทักษะชีวิตอย่างแท้จริง ผ่านการลงมือปฎิบัติการทำอาหารไทย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยเทคโนโลยีผ่านการลงมือปฎิบัติการทำอาหารไทย
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
11 คน 11
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยเทคโนโลยีผ่านการลงมือปฎิบัติการทำอาหารไทย
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ "“หนึ่งหมู่บ้านหนึ่งเชฟอาหารไทย”"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 06/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สิริยุพา  เลิศกาญจนาพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พัตรเพ็ญ  เพ็ญจำรัส (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อังคณา  ชมภูมิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางเหมสุดา  แก้วกอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย จำนวน 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคภาคปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆ ละ 144 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นจำนวนเงิน 86,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 88,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 88,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เป็นเงิน 66,005.59 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 66,005.59 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 66,005.59 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 154205.59
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล