23021 : โครงการปลูกพันธุ์ไม้เพื่อสร้างรายได้และสนับสนุนการฟื้นฟูระบบนิเวศที่ยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/1/2568 10:28:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/01/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และบุคคลทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 2,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาง ศิรภัสสร  กันถาด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านทรัพย์สิน การเงิน และการลงทุน
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68 MJU 5.1.2.4 เพิ่มรายได้ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากรหน่วยงานในการสร้างรายได้ให้กับหน่วยงานนั้น
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68-5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68-5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68-5.1.2.2 เพิ่มรายได้ให้กับส่วนงาน โดยการเอื้อหรือส่งเสริมให้มีการใช้องค์ความรู้ของคณาจารย์และบุคลากร
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัญหาระดับโลกที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะในภาคการเกษตรและระบบนิเวศในชุมชนท้องถิ่น ซึ่งมีความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลง เช่น อุณหภูมิที่สูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ำฝน และภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นถี่ขึ้น โครงการนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองต่อความท้าทายดังกล่าว โดยมีเป้าหมายในส่งเสริมให้บุคลากรปลูกพันธุ์ไม้การเพาะขยายพันธุ์กล้าไม้ ทั้งพันธุ์พืชเศรษฐกิจและพันธุ์พืชพื้นบ้าน เช่น ผักพื้นบ้านและพืชสมุนไพร เพื่อสนับสนุนการปรับตัวต่อสภาพภูมิอากาศ ฟื้นฟูระบบนิเวศ เพิ่มความมั่นคงทางอาหารเป็นต้นแบบการพัฒนาพื้นที่ในกรอบการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นในชุมชนนอกจากนี้ โครงการยังมุ่งเน้นการอนุรักษ์พันธุ์พืชพื้นบ้าน ซึ่งมีบทบาทสำคัญในระบบนิเวศ เนื่องจากพันธุ์พืชเหล่านี้มีความสามารถในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมท้องถิ่นได้ดี ช่วยลดการพึ่งพาพันธุ์พืชต่างถิ่น และส่งเสริมการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ อีกทั้งยังช่วยสร้างความมั่นคงทางอาหารและส่งเสริมวัฒนธรรมการกินอาหารพื้นบ้านที่ดีต่อสุขภาพโครงการนี้ยังใช้พื้นที่ว่างเปล่าภายในมหาวิทยาลัยที่ไม่ได้ถูกใช้ประโยชน์ให้เกิดคุณค่า โดยการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้กลายเป็นพื้นที่สีเขียวที่มีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นแหล่งเรียนรู้เชิงปฏิบัติการด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อมสำหรับนักศึกษาและชุมชนโดยรอบ การพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวช่วยลดปัญหาการจัดการพื้นที่รกร้าง พร้อมทั้งส่งเสริมการสร้างรายได้ผ่านการจำหน่ายพันธุ์พืชเศรษฐกิจและพืชพื้นบ้านที่มีมูลค่าในตลาด โครงการยังมีแนวทางการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยนำเศษวัสดุอินทรีย์ในพื้นที่ เช่น เศษใบไม้ กิ่งไม้ และมูลสัตว์จากฟาร์มของมหาวิทยาลัยมาผ่านกระบวนการย่อยสลายเพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์สำหรับใช้ในโครงการ ซึ่งไม่เพียงช่วยลดขยะในพื้นที่ แต่ยังลดการใช้ปุ๋ยเคมีที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนลดต้นทุนในการดำเนินงานของโครงการจากเหตุผลดังกล่าว โครงการเพาะขยายพันธุ์กล้าไม้เพื่อสร้างรายได้และสนับสนุนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจึงเป็นโครงการที่ตอบโจทย์ความยั่งยืนในหลายมิติ ทั้งการสร้างรายได้ให้มหาวิทยาลัย การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การส่งเสริมพันธุ์พืชพื้นบ้าน การฟื้นฟูพื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดคุณค่า และการสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) ข้อ 13 ที่เน้นการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงการสร้างความตระหนักรู้และความร่วมมือกับชุมชนในท้องถิ่น เพื่อให้เกิดผลกระทบที่ยั่งยืนในระยะยาว

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสร้างรายได้ให้แก่มหาวิทยาลัยผ่านการเพาะขยายและจำหน่ายพันธุ์พืช ทั้งพันธุ์พืชพื้นบ้านและพันธุ์พืชเศรษฐกิจ
2. เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์มหาวิทยาลัย โดยใช้พื้นที่ว่างเปล่าที่ไม่ได้ใช้งานให้เกิดประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
3. เพื่อสนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกผ่านการใช้ปุ๋ยอินทรีย์จากเศษวัสดุภายในพื้นที่ เช่น ใบไม้และมูลสัตว์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : รายได้จากการจำหน่ายพันธุ์ไม้และการฟื้นฟูระบบนิเวศที่ยั่งยืน
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2000 บาท 2000
KPI 2 : ้ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 3 : จำนวนเงินที่เป็นรายได้ที่นำส่งส่วนงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4000 บาท 4000
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของลูกค้า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : รายได้จากการจำหน่ายพันธุ์ไม้และการฟื้นฟูระบบนิเวศที่ยั่งยืน
ชื่อกิจกรรม :
ปลูกพันธุ์ไม้เพื่อสร้างรายได้และสนับสนุนการฟื้นฟูระบบนิเวศที่ยั่งยืน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นางศิรภัสสร  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา  มังกิตะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอดิสรณ์  สมบัติโต (ผู้รับผิดชอบรอง)
ว่าที่ รต.ญ.เจนจิรา  วงศ์โพธิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายจำเริญ  วงศ์โพธิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายวัลลภ  อัฐวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอัญชลี  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายณัฏฐวุฒิ  ทรวงแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายจตุพล  มูลเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางเหมสุดา  แก้วกอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายภาสกร  อัมพรสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เป็นเงิน 500 บาท
2. ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 โครงการปลูกพันธ์ไม้.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล