22973 : โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปศุสัตว์สู่การเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางธนันธรณ์ วุฒิญาณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 14/1/2568 15:25:07
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/01/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  35  คน
รายละเอียด  บุคลากร นักศึกษา และบุคคลภายนอก
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อิศรา  วัฒนนภาเกษม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 4. การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-4.การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68-4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68-4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68-4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมุ่งมั่นพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเกษตรและนวัตกรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing) และพัฒนาทักษะของนักศึกษาด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านการลงมือปฏิบัติ ได้ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ รวมถึงการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ สร้างรายได้ให้แก่นักศึกษา ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) และสอดคล้องกับการพัฒนานักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับ การพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ โครงการนี้จึงมุ่งเน้นพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปศุสัตว์สู่การเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ การแปรรูปที่ได้มาตรฐาน และการพัฒนาช่องทางการจำหน่าย โดยมีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักศึกษา อาจารย์ และชุมชนในพื้นที่ เพื่อนำองค์ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ในเชิงปฏิบัติจริง สร้างนักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับ การพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อฝึกทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วย
2 เพื่อส่งเสริมการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยมาใช้ในกระบวนการแปรรูป และพัฒนานักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับ การพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปศุสัตว์สู่การเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมอบรมและกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
35 คน 35
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปศุสัตว์สู่การเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ "พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปศุสัตว์สู่การเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดุจดาว  คนยัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศรายุทธ  ตรีรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สิริยุพา  เลิศกาญจนาพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.บังอร  ปินนะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายอุดหนุน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การบูรณาการกับการเรียนการสอน/วิจัย/บริการวิชาการ/ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยและส่วนงาน : มีการบูรณาการกับการเรียน รายวิชา 11201341 เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์ ด้านการเรียนการสอน ให้นักศึกษาเรียนรู้การผลิตและแปรรูปเนื้อสัตว์ผ่านกิจกรรมปฏิบัติจริง และทำโครงงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยส่งเสริมการผลิตเนื้อสัตว์ปลอดภัยและยั่งยืน พร้อมผลักดันเป้าหมาย SDGs ผลลัพธ์: นักศึกษาและชุมชนได้รับองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์ เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจและส่งเสริมความยั่งยืน
ช่วงเวลา : 17/01/2568 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล