22964 : โครงการพัฒนาทักษะ IT 2 (การผลิตสื่อ)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางดวงใจ ไพพงค์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 9/1/2568 11:47:29
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/01/2568  ถึง  20/01/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  99  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว รหัส 66 จำนวน 98 คน อาจารย์ผู้ควบคุม 1 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาพัฒนาการท่องเที่ยว กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2568 7,200.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รักธิดา ศิริ  พิทักษ์กิจนุกูร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 TDS 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 TDS 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 TDS 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 67-70 TDS ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานของสกอ.
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เน้นผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ประกอบการด้านธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ มีการจัดทำหลักสูตรให้เป็นไปตามหลักการ Outcome-Based Education (OBE) หลักสูตรฯ ได้วางเป้าหมายการเรียนรู้ของนักศึกษา 6 ข้อ ได้แก่ 1) เข้าใจศาสตร์ทางการท่องเที่ยวและบริการ หลักการจัดการ และจริยธรรมทางธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ 2) ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ เพื่อสร้างสินค้าและบริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว 3) วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางธุรกิจท่องเที่ยวและบริการเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจได้ 4) สามารถประเมินแนวโน้มของธุรกิจท่องเที่ยวและบริการในอนาคต 5) สร้างแผนธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ ที่มีจิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อมได้ และ 6) มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ และมีจิตบริการ ดังนั้นเพื่อให้นักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวและบริการซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายได้มีความพร้อมทั้งด้านวิชาการและการใช้ชีวิตตลอดระยะเวลาในการศึกษา สามารถพัฒนาความรู้และสมรรถนะของตนให้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ได้กำหนดขึ้น หลักสูตรฯ จึงจัดตั้ง ToBiz Club เป็นหน่วยงานในการสนับสนุนส่งเสริมด้านกิจกรรมนักศึกษา (Student Support) ที่มีหน้าที่ในการเสริมสร้างผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรฯ ทั้ง PLOs และ YLOs ร่วมพัฒนานักศึกษาไปพร้อมกับแผนงานด้านการเรียนการสอน เพื่อการบรรลุถึง PLOs และ YLOs โดยมีการสร้างแผนจัดกิจกรรมตลอดทั้งปีให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรฯ ทั้ง PLOs และ YLOs ดังกล่าว รวมถึงการสร้างโอกาสในการได้งานทำและทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ToBiz Club มีการดำเนินงานตามแผน วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน และปรับปรุงแผนงานอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 เพื่อการบรรลุถึง PLOs และ YLOs ในการสร้างผู้ประกอบการด้านธุรกิจท่องเที่ยวและบริการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน IT นั้นเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเป็นกิจกรรมที่จัดต่อเนื่องตามระดับ YLOs ตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ถึง 3

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะให้กับนักศึกษา (ให้เกิดการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร) เสริมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ส่งเสริมให้เกิด personal well-being และโอกาสในการได้งานทำ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้าน IT
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ เกิดทักษะด้าน IT ในศตวรรษที่ 21 ที่สามารถนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร การเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนเพิ่มโอกาสในการได้งานทำและมี Personal well - being
KPI 1 : การเข้าร่วมของนักศึกษา
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ความพึงพอใจระดับ "ดี" ของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ชิ้นงานการผลิตสื่อ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
7 ชิ้น 7
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ เกิดทักษะด้าน IT ในศตวรรษที่ 21 ที่สามารถนำไปสู่การบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร การเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนเพิ่มโอกาสในการได้งานทำและมี Personal well - being
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาทักษะ (การผลิตสื่อ)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/01/2568 - 20/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์รักธิดา ศิริ  พิทักษ์กิจนุกูร (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1,200 บาท x 3 คน x 2 ชั่วโมง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล