22931 : โครงการศูนย์ทดสอบ วิจัย และพัฒนากัญชง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.วัชรินทร์ จันทวรรณ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/1/2568 16:27:14
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  200  คน
รายละเอียด  เกษตรกร / ผู้ประกอบการเข้ารับบริการจากศูนย์ ฯ / ผู้เยี่ยมชม
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. วัชรินทร์  จันทวรรณ์
นาย เสกสรร  สงจันทึก
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส68-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ วส68-2.5 นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาชุมชน พัฒนาพื้นที่ สนับสนุนการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริ และสร้างรายได้
ตัวชี้วัด วส68-15. จำนวนแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
กลยุทธ์ วส68-2.5.3 พัฒนาศูนย์วิจัยและทดสอบพืชเศรษฐกิจ(กัญชง) ให้เป็นต้นแบบด้านการวิจัยพืชกัญชงโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตและยกระดับมาตรฐานการวิจัยให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและระดับสากล
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ศูนย์ทดสอบ วิจัยและพัฒนากัญชง กองบริหารงานบริการวิชาการ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีพื้นที่ในการดำเนินงานวิจัยจำนวน 12 ไร่ ซึ่งแบ่งเป็นพื้นที่การปลูกกลางแจ้งจำนวน 3 ไร่ พื้นที่การปลูกในโรงเรือนและโรงเรือนอนุบาลต้นกล้า จำนวน 17 โรงเรือน ซึ่งสามารถพัฒนาต้นแบบองค์ความรู้ด้านการผลิตกัญชงทั้งแปลงปลูกกลางแจ้งและในโรงเรือน ได้รับการสนับสนุนโรงอบชิ้นส่วนกัญชงขนาด 300 และ 1,000 กิโลกรัมจากภาคเอกชน เพื่อให้บริการแก่กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชนที่สนใจองค์ความรู้ บริการวิชาการเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านกัญชงอย่างครบวงจร ซึ่งได้ดำเนินงานวิจัยและพัฒนางานด้านกัญชงเพื่อทดสอบและคัดเลือกสายพันธุ์กัญชงซีบีดีที่นำเข้าจากต่างประเทศ การพัฒนาสายพันธุ์กัญชงเชิงอุตสาหกรรมภายใต้ความร่วมมือกับภาคเอกชน และดำเนินงานบริการวิชาการร่วมกับสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ เพื่อขยายผลการดำเนินงานวิจัยเชิงพื้นที่ภายใต้โครงการวิจัย เชิงพัฒนาเพื่อส่งเสริมการปลูกพืชกัญชงเชิงพาณิชย์ครบวงจรสู่เกษตรกร และการนำองค์ความรู้ด้านงานวิจัย อาทิเช่น โครงการวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยและพัฒนากัญชง ซีบีดีเพื่ออุตสาหกรรม” โครงการวิจัยเรื่อง “การคัดเลือกสายพันธุ์กัญชงซีบีดีที่เหมาะสมกับการปลูกเชิงอุตสาหกรรม” รวมถึงเทคนิคการผลิตกัญชงกลางแจ้งเชิงอุตสาหกรรม เทคนิคคุณภาพผลผลิตกัญชงซีบีดีเชิงอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีกระบวนการลดความชื้นในช่อดอกกัญชงมาตราฐานตามโรงงานสกัด มาบูรณาการร่วมกับการบริการวิชาการ เพื่อให้เกิดการให้องค์ความรู้ด้านกัญชงที่ครบวงจร ซึ่งเชื่อมโยงเป้าหมายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่ได้กำหนดเป้าหมายเพื่อการก้าวสู่ปีที่ 100 อย่างภาคภูมิและยั่งยืนในปี พ.ศ.2577 โดยกำหนดเป้าหมายการพัฒนาสู่การเป็นการนิเวศแห่งสังคมอุดมปัญญาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Agro-ecosystem for Lifelong learning) ของคน ทุกเพศทุกวัย ทุกกลุ่มอาชีพ และเป็นภูมิปัญญาด้านการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของประเทศเพื่อการพัฒนาสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยมีเป้าหมายการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้สู่การเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต” คือมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ (Organic University) มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) และมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ (Eco. University) โดยวางยุทธศาสตร์การทำงานแบบบูรณาการ คือ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO) เพื่อสร้างความเป็นเลิศด้านกัญชงและกัญชา และพัฒนาตามภารกิจหลัก (Moderating Operation Center) หรือ MOC และมุ่งเน้นระบบการบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการที่ดีมีประสิทธิภาพ โดยรูปแบบการบริหารจัดการโครงการเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Program Management) ด้วยการพัฒนาและผลักดันโครงการนำร่องในเชิงยุทธศาสตร์ (Flagship Projects) เพื่อพลิกโฉมมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ รวมถึงการสร้างผลิตภัณฑ์จากกัญชงสู่ท้องตลาดในชื่อตราผลิตภัณฑ์ มอร์ (MORE) ซึ่งปัจจุบัน ประเทศไทยได้อนุญาตให้มีการปลูกพืชกัญชงกัญชาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย มีข้อกำหนดและกฎหมายเฉพาะที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมทางการแพทย์ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องสำอาง อื่นๆ ได้รับความสนใจและลงทุนระดับอุตสาหกรรมจากภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม และหน่วยงานภาครัฐ ต่าง ๆ ทำให้มีการส่งเสริมการปลูกและการผลิตกัญชงเชิงอุตสาหกรรมหรือเชิงพาณิชย์ในประเทศไทยและ มีแนวโน้มการเติบโตทั้งในประเทศและตลาดโลกจากข้อมูลการรายงานของ Research And Markets.com ได้คาดการณ์ความต้องการของตลาดโลกกัญชง (Hemp) จะเพิ่มขึ้นจากมูลค่า 4.6 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2019 สู่ 26.6 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2025 ซึ่งหลายภาคส่วนได้มีการให้ความสำคัญและผลักดันให้กัญชงเป็นพืชเศรษฐกิจที่จะสามารถสร้างรายได้ให้ประเทศไทยต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ต้นแบบการผลิตและการแปรรูปพืชกัญชง
2. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านงานวิจัย การถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านกัญชงอย่างครบวงจรภายในมหาวิทยาลัยร่วมถึงหน่วยงานอื่น ๆ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์ทดสอบ วิจัยและพัฒนากัญชง
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
55000 45000 ร้อยละ 100000
KPI 3 : จำนวนองค์ความรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 องค์ความรู้ 2
KPI 4 : จำนวนเครือข่ายความร่วมมือภายใน/ภายนอก/ภาครัฐ/ภาคเอกชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เครือข่าย 2
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : แปลงสาธิตการผลิตกัญชงซีบีดี (ในโรงเรือน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 โรงเรือน 2
KPI 8 : พื้นที่ต้นแบบกัญชงอุตสาหกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 9 : จำนวนเกษตรกร/ผู้ประกอบการเข้ารับบริการจากศูนย์ฯ/ ผู้เยี่ยมชม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 100 คน 200
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์ทดสอบ วิจัยและพัฒนากัญชง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 แปลงสาธิตการผลิตกัญชงซีบีดีกลางแจ้งและในโรงเรือน
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้การผลิตกัญชงซีบีดีและการแปรรูป
กิจกรรมที่ 3 สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านงานวิจัย การถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านกัญชงอุตสาหกรรมอย่างครบวงจร ภายในมหาวิทยาลัย ร่วมถึงหน่วยงานอื่น ๆ
กิจกรรมที่ 4 ประสานงานศูนย์ทดสอบ วิจัยและพัฒนากัญชง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.วัชรินทร์  จันทวรรณ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเสกสรร  สงจันทึก (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาด้านการเกษตร ค่าจ้างเหมาด้านการเกษตร จำนวน 1 คน x 1 ครั้ง x 40,000 บาท = 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาผลิตชุดองค์ความรู้การผลิตกัญชง จำนวน 2 องค์ความรู้ x 2,500 บาท = 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษเอ4 แฟ้มใส่เอกสาร ปากกา ดินสอ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น แก้วพลาสติก ทิชชู ฯลฯ เป็นเงิน 2,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น วัสดุปลูก ถาดเพาะกล้า เทปน้ำหยด กรรไกรตัดแต่งกิ่ง สารป้องกันโรค สายพีอี ถุงปลูก ปุ๋ยอินทรีย์ผง ฯลฯ เป็นเงิน 51,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 51,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 51,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล