22924 : โครงการพัฒนาบ้านโปง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นายธนวัฒน์ รอดขาว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/1/2568 11:46:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา และกลุ่มเกษตรกรผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบโครงการพัฒนาศักยภาพการเกษตรเชิงพื้นที่ 2568 887,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ธนวัฒน์  รอดขาว
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
ดร. จันทร์เพ็ญ  สะระ
นาง วิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส68-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ วส68-2.5 นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาชุมชน พัฒนาพื้นที่ สนับสนุนการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริ และสร้างรายได้
ตัวชี้วัด วส68-15. จำนวนแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
กลยุทธ์ วส68-2.5.1 ดำเนินโครงการพัฒนาเชิงพื้นที่ ให้ได้มาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) หรือเกษตรอินทรีย์และสนับสนุนการดำเนินโครงการตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส68-2.5.2 นำองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมของสำนักวิจัยฯ มาสนับสนุนการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการในลักษณะการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน รวมถึงการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตัวชี้วัด วส68-16. รายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ วส68-2.5.1 ดำเนินโครงการพัฒนาเชิงพื้นที่ ให้ได้มาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) หรือเกษตรอินทรีย์และสนับสนุนการดำเนินโครงการตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส68-2.5.2 นำองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมของสำนักวิจัยฯ มาสนับสนุนการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการในลักษณะการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน รวมถึงการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นโครงการตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ดำเนินโครงการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินมายังมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2521 จึงได้มีพระราชกระแสร์รับสั่งให้สถาบันฯ หาลู่ทางเพื่ออนุรักษ์ และพัฒนาต้นน้ำห้วยแม่โจ้ และพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูกในฤดูแล้งแก่ราษฎรในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินการสอนพระราชประสงค์ โดยขั้นแรกมหาวิทยาลัย ได้ประสานงานกับสำนักงานชลประทานที่ 1 เชียงใหม่ สำรวจสภาพพื้นที่และแหล่งน้ำโดยทั่วไป และได้ขอความอนุเคราะห์จากกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน ในการศึกษาข้อมูลพื้นฐานและวางแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้านในทุกด้านอย่างสอดคล้องกับความนึกคิด ความต้องการ และความร่วมมือร่วมใจของราษฎรอันแท้จริง ต่อมาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินไปพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยแม่โจ้ และได้มีพระราชกระแสรับสั่งให้กรมชลประทานพิจารณาสร้างอ่างเก็บน้ำขึ้นบริเวณต้นน้ำ เพื่อเป็นแหล่งน้ำอุปโภคบริโภคและทำการเกษตรของราษฎร และได้มีพระราชกระแสรับสั่งให้ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดทำแปลงปลูกไม้ใช้สอยสำหรับหมู่บ้านโปงและหมู่บ้านใกล้เคียง ตลอดจนส่งเสริมบริการด้านการเพาะปลูก พร้อมทั้งพัฒนาอาชีพและแปรรูปผลผลิตเกษตร ให้มีการเก็บรักษาและจำหน่ายต่อไป และเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทอดพระเนตร โครงการพระราชดำริบ้านโปง ในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยแม่โจ้ บริเวณบ่อน้ำแท่นพระยาหลวงโดยมีพระราชกระแสรับสั่งให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยคณาจารย์ นักศึกษา ช่วยกันดูแลรักษาและให้ปลูกไม้โตเร็วเพิ่มเติมเพราะเป็นต้นน้ำลำธาร เช่น ให้ปลูกแคไทย เพาโรเนีย และไม้โตเร็วพื้นเมือง นอกจากนี้ยังช่วยแนะนำอาชีพให้แก่ราษฎร และให้ร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะป่าไม้ ซึ่งเป็นแหล่งต้นน้ำที่ดีที่สุด เมื่อปีพ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ใช้พื้นที่บางส่วน ทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้แก่เกษตรกรชาวบ้านโปงปลูกดอกเบญจมาศเพื่อการค้า โดยรวมกลุ่มเกษตรกรที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้จัดเตรียมแปลงสาธิต จัดการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน วางแผนการปลูก ตลอดจนจัดหาตลาด เพื่อจำหน่ายผลผลิต และยังสนับสนุนค่าต้นพันธุ์เบญจมาศ ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำ ในรูปแบบให้สินเชื่อ มีเจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษา ควบคุมดูแลเกษตรกร ได้ทำโครงการส่งเสริมจนถึงปัจจุบัน รวมระยะเวลา 23 ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 และเสด็จพระราชดำเนินไปอ่างเก็บน้ำทอดพระเนตรสภาพน้ำและสภาพป่าสงวนแห่งชาติป่าสันทรายพื้นที่โครงการพัฒนาบ้านโปงฯ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้มีพระราชดำริ และพระกระแสรับสั่งให้มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สร้างฝายกั้นต้นน้ำลำธารตามร่องน้ำสายต่างๆ เพื่อให้ป่ามีความชุ่มชื้น และดำเนินการทำโครงการทฤษฎีใหม่ โครงการพัฒนาพื้นที่เกษตรน้ำฝน จัดพื้นที่ตอนท้ายอ่างห้วยโจ้ เพื่อให้ราษฎรมีแหล่งน้ำสำหรับใช้เพาะปลูกเลี้ยงปลา และเลี้ยงสัตว์ ให้มีการปลูกหญ้าแฝกบริเวณ ขอบอ่างเก็บน้ำห้วยโจ้ และพื้นที่บริเวณใกล้เคียง ไม่ให้หน้าดินถูกกัดเซาะหรือถูกน้ำชะล้างเป็นการอนุรักษ์ดินและน้ำ จากพระราชกระแสร์รับสั่งของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ดังกล่าว สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เห็นถึงความสำคัญ จึงทำโครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อเป็นสถานที่ศึกษา วิจัย ด้านการเรียนการสอน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาอาชีพการปลูกดอกเบญจมาศและเก๊กฮวย รวมถึงงานบริการวิชาการให้แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไป
2. เพื่อเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมพืช พันธุ์ดี เช่น มะนาว ฝรั่ง กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับ ใช้เป็นฐานพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์พืช
3. เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ การปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : สนับสนุนโครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 90 90 90 ร้อยละ 90
KPI 2 : เป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ได้แก่ ไม้ผล กล้วยไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ เพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 3 3 3 ประเภท 3
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 25 25 25 คน 100
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1617 0.4019 0.1617 0.1617 ล้านบาท 0.887
KPI 6 : การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรป่าไม้การปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 5 5 5 ไร่ 5
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 8 : เกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 20 ครอบครัว 20
KPI 9 : รายได้ที่เกิดจาการดำเนินงานต่อปี
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.1 ล้านบาท 0.1
KPI 10 : ร้อยละของการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 90 90 90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : สนับสนุนโครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1
ส่งเสริมการปลูกไม้ดอก ได้แก่ เบญจมาศและเก๊กฮวย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายธนวัฒน์  รอดขาว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางวิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการสนับสนุนปฏิบัติงานขยายพันธุ์ การปลูก และดูแลรักษา (จำนวน 3 คน x 12 เดือน x 7,700 บาท เป็นเงิน 277,200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
69,300.00 บาท 69,300.00 บาท 69,300.00 บาท 69,300.00 บาท 277,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยเคมี สารเคมีควบคุมโรคและแมลง ขุยมะพร้าว ขี้เถ้าแกลบ แกลบดิบ เป็นเงิน 211,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 211,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 211,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น สารเคมี และอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ค่าถ่ายเอกสาร กระดาษ เป็นเงิน 1,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ตะกร้าพลาสติก ถุงพลาสติก น้ำยาทำความสะอาด เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุไฟฟ้า เช่น สายไฟ หลอดไฟฟ้า เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 504800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2
อนุรักษ์พันธุกรรมพืช ได้แก่ ไม้ผล กล้วยไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายธนวัฒน์  รอดขาว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางวิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าจ้างเหมาบริการสนับสนุนปฏิบัติงานขยายพันธุ์ การปลูก และดูแลรักษา (จำนวน 3 คน x 12 เดือน x 7,700 บาท เป็นเงิน 277,200 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
69,300.00 บาท 69,300.00 บาท 69,300.00 บาท 69,300.00 บาท 277,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก สารเคมีควบคุมโรคและแมลง ขี้เถ้าแกลบ แกลบดิบ ขุยมะพร้าว กระถางพลาสติก เป็นเงิน 12,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 289800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3
การปลูกและอนุรักษ์ป่าไม้ใช้สอยโตเร็ว ไผ่, กระถินณรงค์, สัก

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายธนวัฒน์  รอดขาว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางวิไลวรรณ  สถาพรศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ดร.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าจ้างเหมาบริการสนับสนุนปฏิบัติงานการปลูก และดูแลรักษาไม้ใช้สอย (จำนวน 1 คน x 12 เดือน x 7,700 บาท เป็นเงิน 92,400 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
23,100.00 บาท 23,100.00 บาท 23,100.00 บาท 23,100.00 บาท 92,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 92400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 โครงการพัฒนาบ้านโปง-68.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล