22921 : โครงการพัฒนาฐานเรียนรู้ไม้กระถางเพื่อเกษตรกรยุคใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ดร.จันทร์เพ็ญ สะระ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 30/1/2568 13:46:46
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกรและผู้สนใจ นักวิชาการเกษตรของหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ดร. จันทร์เพ็ญ  สะระ
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.2 การพัฒนาเทคโนโลยี และองค์ความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยตลอดเวลา ให้ศูนย์ความเป็นเลิศ อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร และฐานเรียนรู้ด้านเกษตร ร่วมสร้างองค์ความรู้ในวิทยาการหลากหลายสาขามาผสมผสานเป็น Cross Disciplinary Collaboration โดยมีเกษตรเป็นรากฐานเพื่อนำความรู้สู่สังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส68-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ วส68-2.5 นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาชุมชน พัฒนาพื้นที่ สนับสนุนการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริ และสร้างรายได้
ตัวชี้วัด วส68-15. จำนวนแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
กลยุทธ์ วส68-2.5.1 ดำเนินโครงการพัฒนาเชิงพื้นที่ ให้ได้มาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) หรือเกษตรอินทรีย์และสนับสนุนการดำเนินโครงการตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส68-2.5.2 นำองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมของสำนักวิจัยฯ มาสนับสนุนการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการในลักษณะการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน รวมถึงการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตัวชี้วัด วส68-16. รายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ วส68-2.5.1 ดำเนินโครงการพัฒนาเชิงพื้นที่ ให้ได้มาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) หรือเกษตรอินทรีย์และสนับสนุนการดำเนินโครงการตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส68-2.5.2 นำองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมของสำนักวิจัยฯ มาสนับสนุนการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการในลักษณะการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน รวมถึงการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในยุคสมัยปัจจุบัน เกษตรกรกำลังเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทางด้านสภาพอากาศและความต้องการของตลาด การปรับตัวสู่การเกษตรสมัยใหม่จึงเป็นสิ่งจำเป็น การปลูกไม้กระถางเป็นหนึ่งในรูปแบบการเกษตรที่กำลังเป็นที่นิยม เนื่องจากสามารถปลูกได้ในพื้นที่จำกัด เช่น ระเบียงบ้าน สวนขนาดเล็ก หรือแม้แต่ในพื้นที่ในเมืองที่มีขนาดเล็ก การปลูกไม้ผลในกระถางมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถควบคุมการเติบโตของพืชได้ง่ายขึ้น การดูแลรักษาและการจัดการพื้นที่มีความยืดหยุ่น นอกจากนี้ การปลูกในกระถางช่วยให้เกษตรกรสามารถควบคุมการใช้น้ำ ปุ๋ย และดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงจากการใช้ทรัพยากรเกินจำเป็น และยังลดการใช้สารเคมีที่อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้การปลูกในกระถางสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหรือปรับสภาพแวดล้อม เช่น ปรับการรับแสงหรือหลบจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวย อีกทั้งไม้ผลกระถางยังมีส่วนช่วยในการส่งเสริมสุขภาพจิตและกาย โดยการปลูกและดูแลพืชในบ้านสามารถลดความเครียด สร้างสภาพแวดล้อมที่สดชื่น และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น แม้การปลูกไม้ผลในกระถางจะมีประโยชน์มากมาย แต่ก็มีข้อจำกัดที่บางประการควรคำนึงถึง ได้แก่ กระถางมีขนาดจำกัด ทำให้รากของพืชไม่สามารถขยายตัวได้เท่ากับการปลูกลงดิน ส่งผลให้พืชมีขนาดเล็กกว่าเมื่อปลูกในดิน ซึ่งอาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตที่ได้ การปลูกไม้ผลในกระถางอาจต้องการความรู้และทักษะเฉพาะ เช่น การจัดการดินที่มีธาตุอาหารจำกัดในกระถาง การตัดแต่งกิ่งอย่างถูกวิธี เพื่อรักษาสภาพการเจริญเติบโตที่ดีของพืช ซึ่งเกษตรกรอาจต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้น และไม้ผลบางชนิดอาจไม่เหมาะสมกับการปลูกในกระถางเนื่องจากขนาดของพืชหรือระบบราก และธาตุอาหาร เช่น ไม้ผลที่มีขนาดใหญ่หรือต้องการพื้นที่รากมาก การปลูกในกระถางอาจทำให้การเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ โครงการนี้จึงมุ่งเน้นพัฒนาและสร้างฐานเรียนรู้ให้เกษตรกรสามารถปลูกและดูแลไม้กระถางอย่างมืออาชีพ พร้อมทั้งสามารถปรับใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เช่น ระบบควบคุมการรดน้ำอัตโนมัติ สามารถสร้างรายได้อย่างต่อเนื่องให้แก่เกษตรกรทั้งในเมืองและชนบท

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างอาชีพเสริมและเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืน
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตไม้ผลกระถางให้แก่เกษตรกรและประชาชนทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตไม้ผลในกระถาง
KPI 1 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 30 40 ร้อยละ 90
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 50 ร้อยละ 90
KPI 7 : ฐานเรียนรู้การปลูกไม้ผลกระถาง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานเรียนรู้การผลิตไม้ผลในกระถาง
ชื่อกิจกรรม :
การสร้างฐานเรียนรู้ไม้ผลกระถาง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ดร.จันทร์เพ็ญ  สะระ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายอดิศักดิ์  การพึ่งตน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ดินดำ กระถาง ปุ๋ยคอก แกลบดิบ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 45,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 45,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การดูแลจัดการฟาร์ม
ช่วงเวลา : 09/06/2568 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล