22918 : โครงการศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์ ระดม (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/1/2568 12:23:34
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  690  คน
รายละเอียด  นักเรียน บุคลากร เกษตรกร ประชาชนทั่วไป จำนวน 190 คน นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ 500 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 500,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ว่าที่ ร.ต. สมบูรณ์  ระดม
นาย อดิศักดิ์  การพึ่งตน
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.2 การพัฒนาเทคโนโลยี และองค์ความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยตลอดเวลา ให้ศูนย์ความเป็นเลิศ อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร และฐานเรียนรู้ด้านเกษตร ร่วมสร้างองค์ความรู้ในวิทยาการหลากหลายสาขามาผสมผสานเป็น Cross Disciplinary Collaboration โดยมีเกษตรเป็นรากฐานเพื่อนำความรู้สู่สังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส68-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ วส68-2.5 นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาชุมชน พัฒนาพื้นที่ สนับสนุนการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริ และสร้างรายได้
ตัวชี้วัด วส68-15. จำนวนแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
กลยุทธ์ วส68-2.5.1 ดำเนินโครงการพัฒนาเชิงพื้นที่ ให้ได้มาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) หรือเกษตรอินทรีย์และสนับสนุนการดำเนินโครงการตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส68-2.5.2 นำองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมของสำนักวิจัยฯ มาสนับสนุนการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการในลักษณะการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน รวมถึงการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตัวชี้วัด วส68-16. รายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ วส68-2.5.1 ดำเนินโครงการพัฒนาเชิงพื้นที่ ให้ได้มาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) หรือเกษตรอินทรีย์และสนับสนุนการดำเนินโครงการตามพระราชดำริ
กลยุทธ์ วส68-2.5.2 นำองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมของสำนักวิจัยฯ มาสนับสนุนการเรียนการสอน การให้บริการวิชาการในลักษณะการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน รวมถึงการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

พื้นที่ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา มีพื้นที่โดยประมาณ 35 ไร่ เป็นพื้นที่เตรียมการสาธิตด้านเกษตรล้านนา การจำลองวิถีชีวิตเกษตรกรในอดีต ภูมิปัญญาเกษตรพื้นบ้านท้องถิ่น เพื่อใช้สำหรับประกอบกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ ให้แก่ นักศึกษา นักเรียน เกษตรกร หรือผู้ที่สนใจเพื่อเข้าเยี่ยมชมและศึกษาวิถีชีวิตของ คนล้านนา และเป็นแหล่งเรียนรู้การน้อมนำแนวทางพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ำ การปลูกข้าว การใช้สัตว์ไถนา วิถีชีวิตเกษตรอินทรีย์ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีการจัดนิทรรศการแสดงพิพิธภัณฑ์การเกษตรท้องถิ่น สามารถเป็นองค์กรที่ทำหน้าที่เป็นคลังความรู้ของนักศึกษา ชุมชน สร้างจิตสำนึกร่วมกันให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน และเป็นเวทีให้คนในท้องถิ่นถ่ายทอดประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต ความต้องการให้แก่คนรุ่นใหม่ได้ศึกษา รวมถึงสนับสนุน ให้เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เกิดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ในชุมชนที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ในวิถีเกษตรล้านนาอย่างแท้จริง สามารถให้ผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ เป็นระบบการเกษตรที่มีความยั่งยืน ถาวร เป็นอาชีพที่มีความมั่นคง ความสำคัญของเกษตรธรรมชาติ คือ ช่วยรักษาสภาพแวดล้อม เนื่องจากไม่มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการเกษตรทุกชนิด จึงไม่มีสารพิษตกค้างในสภาพแวดล้อม ช่วยปรับปรุงและพัฒนาดินให้มี ความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเพาะปลูก จึงช่วยคุ้มครองพื้นที่ในการทำการเกษตร ช่วยรักษาความสมดุลของระบบนิเวศและความสมดุลของสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทำให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่บริสุทธิ์ ทั้งปริมาณและมีคุณภาพดี เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้ โดยมีการใช้ทรัพยากรภายในแปลงเกษตรมาหมุนเวียนใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ลดการใช้ปัจจัยภายนอกจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการทำการเกษตรแบบธรรมชาติ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพื่อเป็นแหล่งถ่ายทอดองค์ความรู้/เยี่ยมชม/ศึกษาดูงาน เกี่ยวกับการทำการเกษตรแบบธรรมชาติ
3. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และอบรมเกี่ยวกับเรื่อง “การทำการเกษตรแบบธรรมชาติ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง”
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
257100 98900 72000 72000 บาท 500000
KPI 3 : จำนวนนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
250 0 250 0 คน 500
KPI 4 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 6 : จำนวนผู้เยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 40 40 คน 160
KPI 7 : จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม/ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 30 0 0 คน 30
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ / หน่วยงาน / องค์กรที่ได้รับบริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
-80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0 0 0 90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมเกษตรล้านนา
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ยั่งยืน
- จัดแสดงนิทรรศการ วิถีการดำรงชีวิตของคนล้านนา
- การถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ การเลี้ยงสุกรในระบบอินทรีย์
- การถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ การเลี้ยงไก่ไข่อารมณ์ดี
- การรับรองมาตรฐานพื้นที่อินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ว่าที่ ร.ต.สมบูรณ์  ระดม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างคนงานเกษตร จำนวน 3 คน ๆ ละ 8,000 บาท 12 เดือน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
72,000.00 บาท 72,000.00 บาท 72,000.00 บาท 72,000.00 บาท 288,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น วัสดุเกษตร เช่น รำกลาง อาหารหมูเล็ก อาหารไก่ไข่ อาหารปลาเล็ก ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
185,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 185,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุน้ำมันเชื้อเพลิง เช่น ดีเซล แก๊สโซฮอล์ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 กระดาษปรุ๊ฟ ปากกาเคมี 2 หัว ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ข่า ผลไม้ที่มีสีเหลืองตามฤดูกาล นมสด ฯลฯ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ้นเตอร์ ชุดแป้นพิมพ์ไร้สาย ฯลฯ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 500000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
บก.68-02
บก.68-03
บก.68-04
ย.002
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล