22897 : โครงการทำแผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นายสมยศ มีสุข (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/1/2568 15:51:24
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  19  คน
รายละเอียด  คณะกรรมการจัดทำ ร่าง ยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน กองบริหารงานวิจัย หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุบรรณ  ฝอยกลาง
นาย สมยศ  มีสุข
นาง จิรนันท์  เสนานาญ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐพล  เลาห์รอดพันธุ์
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.7 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.7.1 พัฒนาแผนแม่บทเกษตรอัจฉริยะมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ วส68-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ วส68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด วส68-2. ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ วส68-1.1.2 พัฒนาแผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2568 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้กำหนดตัวชี้วัดเรื่องความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture) ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO) โดยมีเป้าประสงค์ในการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA) โดยกำหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจากการที่สำนักวิจัยฯ ได้เสนอ ร่าง แผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2568 - 2572) ต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ในการประชุม ครั้งที่17/2567 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2567 ที่ประชุมมีข้อเสนอแนะพอสรุปได้ ดังนี้ 1. ควรเพิ่มเติมรายละเอียดแนวทางการดำเนินงานที่เชื่อมโยงกับนโยบายการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิตทางการเกษตรอย่างยั่งยืนเพื่อสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี (Intelligent Well-being Agriculture (IWA)) ของมหาวิทยาลัย ในระดับนานาชาติด้วย 2. รายละเอียดในภาคผนวก ควรตรวจสอบว่า มีผลงานและนวัตกรรมใดที่จดลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรบ้าง และเจ้าของผลงานได้ลาออกหรือเกษียณอายุงานไปแล้วหรือไม่ ซึ่งหากพบว่าเจ้าของผลงานได้ลาออกหรือเกษียณอายุงานไปแล้ว ควรตัดข้อมูลส่วนนั้นออก โดยที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติเห็นชอบในหลักการ "ร่าง แผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2568 - 2572)" ตามที่เสนอ และให้สำนักวิจัยฯ นำข้อเสนอแนะจากที่ประชุมไปพิจารณาดำเนินการปรับปรุงรายละเอียด และนำเสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง ดังนั้น เพื่อดำเนินการตามมติคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย สำนักวิจัยฯ จึงดำเนินกิจกรรมจัดทำแผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อให้ได้แผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2568 - 2572) เพื่อตอบเป้าหมายตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัยต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2568 - 2572)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2568 - 2572)
KPI 1 : ร้อยละความสำเร็จในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 2 : ร้อยละของการดำเนินงานแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แผนยุทธศาสตร์เกษตรอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2568 - 2572)
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล