22893 : โครงการความร่วมมือด้านภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาท้องถิ่น (68-4.1.3)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.รุ้งทอง เขื่อนขัน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/1/2568 19:05:23
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
23/12/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  คณาจารย์ และนักศึกษา หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานรอง : แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ผลผลิต : ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิจกรรมสนับสนุนบริหารจัดการทั่วไป
แผนงานบริหารมหาวิทยาลัย
งานบริหารทั่วไป
กองทุนทั่วไป
งบเงินอุดหนุน
เงินอุดหนุนทั่วไป
โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 4)
2568 308,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธภูมิ  เผ่าจินดา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
นโยบายด้านดิจิทัล
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 4. การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย(Reinventing)
เป้าประสงค์ 68 MJU 4.1 เป็นมหาวิทยาลัยด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างวัตกรรม (Technology Development and Innovation)
ตัวชี้วัด 68 MJU 4.1.1 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68 MJU 4.1.1.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและการสร้างนวัตกรรมให้สามารถนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ สร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ตัวชี้วัด 68 MJU 4.1.4 บุคลากรสถาบันอุดมศึกษาและนักศึกษาที่แลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 68 MJU 4.1.1.2 พัฒนาศักยภาพของศิษย์เก่าแม่โจ้อย่างต่อเนื่อง ทั้งในรูปแบบ Re-training หรือ Re-skills เพื่อให้สามารถเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ หรือมีความสามารถเป็นที่พอใจของนายจ้าง
ตัวชี้วัด 68 MJU 4.1.5 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68 MJU 4.1.1.3 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตัวชี้วัด 68 MJU 4.1.6 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ 68 MJU 4.1.1.3 ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือกับภาคเอกชนและอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุน และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และอุตสาหกรรมของประเทศ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 4(64-68)-FAED การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing)
เป้าประสงค์ 4.1 (64-68)-FAED67 การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และผู้ประกอบการในการเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่
ตัวชี้วัด 4.1.1FAED67 นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.1(64-68) จัดโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาความเป็นผู้ประกอบการแก่นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ ที่ครอบคลุมในทางวิชาการและวิชาชีพ
กลยุทธ์ FAED-4.1.2(64-68) สนับสนุนการใช้พื้นที่ Learning Space และ Working Space ของคณะ เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนาทางวิชาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ FAED-4.1.3(64-68)ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบโดยปรากฏในกิจกรรมของคณะ และ มคอ.3 โดยมีผลการเรียนรู้ปรากฏใน มคอ.5
เป้าประสงค์ 4.2 (64-68)-FAED67 การพัฒนาศักยภาพของคณะในการพัฒนาผู้ประกอบการ
ตัวชี้วัด 4.1.8FAED67 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม
กลยุทธ์ FAED-4.2.2 (64-68) การพัฒนาเครือข่ายหน่วยงานและองค์กรเพื่อความร่วมมือทางวิชาการและการบริการวิชาการอย่างยั่งยืน
กลยุทธ์ FAED-4.2.3 (64-68) บริหารช่องทางการสื่อสารของคณะแบบบูรณาการให้เป็น Platform กลางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ 68-FAED-4.2.1(64-68) สร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ และส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรมของคณะ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนแปลงของโลกในด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคม เกิดความท้าทายต่อการผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับการเป็นทั้งผู้ประกอบการที่มีวิสัยทัศน์และนักออกแบบที่ดี (GOOD DESIGNER) ซึ่งไม่เพียงแต่ต้องมีทักษะวิชาชีพที่เชี่ยวชาญ แต่ยังต้องสามารถปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว พร้อมทั้งมีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้และทำงานร่วมกับชุมชนและภาคธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาบัณฑิตที่ตอบสนองต่อตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัยในด้านการพลิกโฉมองค์กร โดยเน้นการสร้างความร่วมมือระหว่างวิชาการกับชุมชนและภาคธุรกิจ ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่ตอบโจทย์ความต้องการของโลกยุคใหม่ การเข้าร่วมโครงการวิจัยเรื่อง "การสร้างกลไกความร่วมมือระดับพื้นที่แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ในการยกระดับและขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ บนฐานนิเวศวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชนของเทศบาลเมืองระนอง" ที่ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จึงเป็นโอกาสสำคัญที่หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมจะสามารถพัฒนาศักยภาพของบัณฑิตและบุคลากร ตลอดจนส่งเสริมบทบาทในการให้บริการวิชาการแก่สังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการอนุรักษ์วิถีชีวิตชุมชน ควบคู่กับการพัฒนาด้านนิเวศวัฒนธรรมและภูมิสถาปัตยกรรมในพื้นที่เทศบาลเมืองระนอง โดยมีการบูรณาการความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ อันจะช่วยยกระดับเมืองให้เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ที่ยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจและแนวทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในมิติการให้บริการวิชาการแก่สังคมและการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพในระดับสากล

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้เป็น GOOD DESIGNER ที่มีความพร้อมในการเผชิญความท้าทายของโลกยุคใหม่ ด้วยทักษะวิชาชีพ ทักษะศตวรรษที่21 และความเป็นผู้ประกอบการ
เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากร นักศึกษา นักวิชาการ ภาคธุรกิจ และชุมชน เพื่อการพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและประเทศ
เพื่อให้บริการวิชาการแก่เทศบาลและชุมชนในด้านแนวทางการออกแบบเมืองเก่า ภูมิทัศน์เมืองเก่าและพื้นที่สาธารณะเพื่อส่งเสริมการบรรลุ SDGs
เพื่อนำผลงานวิชาการและผลงานนักศึกษาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลการให้ความร่วมมือด้านภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาท้องถิ่น
KPI 1 : จำนวนโครงการที่ให้บริการวิชาการแก่เทศบาลและชุมชนในด้านแนวทางการออกแบบเมืองเก่า ภูมิทัศน์เมืองเก่าและพื้นที่สาธารณะเพื่อส่งเสริมการบรรลุSDGs
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 โครงการ 1
KPI 2 : จำนวนผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ผลงาน 10
KPI 3 : จำนวนนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาให้เป็น GOOD DESIGNER ที่มีความพร้อมในการเผชิญความท้าทายของโลกยุคใหม่ ด้วยทักษะวิชาชีพ ทักษะศตวรรษที่21 และความเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
28 คน 28
KPI 4 : จำนวนบุคลากรและนักศึกษาที่ได้รับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและประเทศ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 5 : นักศึกษาได้รับการพัฒนาทักษะด้านการออกแบบเมืองเก่า ภูมิทัศน์เมืองเก่า และพื้นที่สาธารณะ ตลอดจนเป็นการส่งเสริมทักษะการเป็นผู้ประกอบการจากสถานที่จริง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลการให้ความร่วมมือด้านภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาท้องถิ่น
ชื่อกิจกรรม :
4.1.3.1 กิจกรรมความร่วมมือด้านภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาท้องถิ่น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธภูมิ  เผ่าจินดา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ทำเนียบ  อุฬารกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าพาหนะ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 187,650.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 187,650.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยง (จำนวน 240 บาท x 30 คน x 5 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 36,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 36,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาอื่น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 1,500 บาท x 3 ชั่วโมง x 2 คน x 3ครั้ง)=27,000+
(จำนวน 1,200 บาท x 3 ชั่วโมง x 1 คน x 1 ครั้ง)=3,600.-
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 265250.00
ชื่อกิจกรรม :
4.1.3.2 กิจกรรมผลิตผลงานและนำเสนอผลงานความร่วมด้านภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาท้องถิ่น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ทำเนียบ  อุฬารกุล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธภูมิ  เผ่าจินดา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (30 บาท x 30 คน x 4 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (140 บาท x 30 คน x 2 มื้อ)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (จำนวน 1,200 บาท x 3 ชั่วโมง x 2 คน x 2 ครั้ง)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 16,350.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,350.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 42750.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-ไม่มี-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ในรายวิชา ภส435 การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 5
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล