22888 : โครงการการเลี้ยงไข่ผำด้วยระบบอัจฉริยะและการแปรรูปเพื่อการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางธนันธรณ์ วุฒิญาณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 6/1/2568 14:50:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
10/01/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และประชาชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่มีค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. วีรนันท์  ไชยมณี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.7 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.7.3 พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมด้านเกษตรอัจฉริยะเพื่อถ่ายทอดให้ผู้ใช้ประโยชน์
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-1.การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68-1.1.7 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 68-1.1.7.2 พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมด้านเกษตรอัจฉริยะเพื่อถ่ายทอดให้ผู้ใช้ประโยชน์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้เปิดทำการเรียนการสอนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 และได้ดำเนินกิจกรรมสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ยุทธศาสตร์จังหวัดแพร่ และยุทธศาสตร์ชาติ ในระยะเวลาที่ผ่านมาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางอุตสาหกรรมเกษตร และสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ได้ดำเนินโครงการตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้หลายด้าน เช่น GO Eco Unversity การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เช่น ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนที่สนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการแก้ไขปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่งเสริมนักศึกษาเป็นผู้ประกอบการ และการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน รวมถึงการดำเนินการเรียนการสอน และจัดกิจกรรมโครงการเพื่อสนองต่อแผนพัฒนาความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัย “พลิกโฉมมหาวิทยาลัยสู่การสร้างบัณฑิตผู้ประกอบการเศรษฐกิจสร้างคุณค่าด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในระดับนานาชาติ” ปัจจุบันมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีวิสัยทัศน์เพื่อ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีเครือข่ายความร่วมมือเชิงวิชาการ สร้างองค์ความรู้ใหม่ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางเกษตรกรรมด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เป็นศาสตร์ผสมผสานสอดคล้องกับวัฒนธรรมในพื้นที่ มีความโดดเด่นในด้านการเกษตรอัจฉริยะเพื่อสุขภาวะที่ดี (Intelligence Well-being Agriculture (IWA)) ด้วยบุคลากรที่มีทักษะระดับมืออาชีพ และการบริหารจัดการที่มีการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เพื่อก้าวสู่ความเป็นเลิศในระดับสากลบนตัวตนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเน้นผลิตบัณฑิตที่เป็นนักปฏิบัติที่มีความเชี่ยวชาญ (Hands-on Professional) ผู้ประกอบการ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมหาวิทยาลัยแม่โจ้ยังได้ตระหนักถึงความสำคัญในประเด็น “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals, SDGs) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เป็นคณะที่สามารถตอบสนองนโยบายของ SDGs ในเป้าหมายที่ 13 “การปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น” ได้เป็นอย่างดี โดยโครงการนี้มีความสอดคล้องที่เป็นการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการผลิตพืชได้อย่างยั่งยืนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้น รวมถึงการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุของหลักสูตรฯ และสนองต่อนโยบายของมหาวิทยาลัย และนโยบายของ SDGs ให้มีความต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา หลักสูตรฯ จึงได้เสนอ “การเลี้ยงไข่ผำด้วยระบบอัจฉริยะและการแปรรูปเพื่อการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ” เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการสำหรับนักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ และภาคประชาชนที่มีความสนใจและต้องการสร้างเสริมประสบการณ์ สำหรับการเป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตรในอนาคต ซึ่งการดำเนินกิจกรรมของโครงการจะมีความสอดคล้องและครอบคลุมตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อเป็นที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนานักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่ารวมถึงประชาชนได้อย่างสมบูรณ์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อนำเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ เกษตรแม่นยำ และนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้สำหรับการเลี้ยงไข่ผำ
2 เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
3 เพื่อพัฒนาทักษะด้านผู้ประกอบการสำหรับนักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติและประชาชน
4 เพื่อเป็นแนวทางในการนำเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะ เกษตรแม่นยำ และนวัตกรรมสำหรับการผลิตพืชได้อย่างยั่งยืนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะการเลี้ยงไข่ผำด้วยระบบอัจฉริยะและการแปรรูปเพื่อการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : นักศึกษาและบัณฑิตผู้ประกอบการ หรือผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะการเลี้ยงไข่ผำด้วยระบบอัจฉริยะและการแปรรูปเพื่อการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเชิงปฏิบัติการ “การเลี้ยงไข่ผำด้วยระบบอัจฉริยะและการแปรรูปเพื่อการพัฒนาเป็นผู้ประกอบการ”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 10/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ศรายุทธ  ตรีรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร  จันทร์ฉาย (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา  วัฒนนภาเกษม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิลป์  มาลัยทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โอฬาร  อ่องฬะ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรรณิการ์  กาญจันดา (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุกรี  อยู่สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สิริยุพา  เลิศกาญจนาพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.รัชนีวรรณ  คำตัน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ธีราพัฒน์  จักรเงิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อุบลวรรณ  สุภาแสน (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกอาทิตย์  ฤทธิเดชยิ่ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สินีนาฏ  สองศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ยุวดี  พลพิทักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์  ศิริ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ถิรนันท์  กิติคู้ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อภิญญา  ชุ่มอินถา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
ย.002 โครงการไข่ผำอัจฉริยะ.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
โครงการนำองค์ความรู้ เรื่อง เกษตรอัจฉริยะ เกษตรแม่นยำ เทคโนโลยีพลาสมา ต้นทุนและผลตอบแทน มาบริการวิชาการ โครงการเกิดจากการนำผลงานวิจัย เรื่อง 1) การเพิ่มประสิทธิภาพการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพรอพอลิสและไขผึ้งด้วยเทคโนโลยีพลาสมาเพื่อการผลิตสารสกัดคุณภาพสูง มาบริการวิชาการ แหล่งทุน สกสว. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2) ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีพลาสมาและกลไกการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคหนอนเน่าอเมริกัน Paenibacillus larvae ในผึ้ง แหล่งทุน สกสว. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 3) ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีพลาสมาต่อการย
ช่วงเวลา : 01/11/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล