22884 : โครงการบูรณาการรายวิชา: เปิดประสบการณ์เรียนรู้ด้านธุรกิจการบิน (ครั้งที่ 2)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
อาจารย์ภาคศิริ ปั้นลี้ ทองเสน (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/1/2568 20:30:03
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
02/01/2568  ถึง  09/03/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  168  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนในรายวิชา ศอ354 ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาศิลปศาสตร์ กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2568 24,150.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ภาคศิริ ปั้นลี้  ทองเสน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดาราณี  ชุมทอง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.5 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนที่ตอบโจทย์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรและปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA68 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC):การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ LA68-2.2 นักศึกษาได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด LA68-2.1.11 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ LA68-2.2-4 ส่งเสริมให้จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยี ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการเป็นหนึ่งในรายได้หลักของประเทศไทย โดยรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการท่องเทียวภายในประเทศและเปิดรับนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้ธุรกิจการบินกลายเป็นปัจจัยสำคัญในการช่วยขับเคลื่อนการสร้างรายได้จากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการของประเทศไทย สายการบินต่าง ๆ กลับมาทำการบินเป็นปกติแล้วและมีความต้องการบุคลากรสายการบิน อาทิเช่น พนักงานบริการภาคพื้นและพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน เป็นจำนวนมาก สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตระหนักถึงความสำคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยด้วยอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ โดยมีธุรกิจการบินเป็นตัวจักรสำคัญในการนำนักท่องเที่ยวไทยเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางภายในประเทศและนำนักท่องเที่ยวจากทุกมุมโลกเดินทางสู่ประเทศไทย จึงได้บรรจุรายวิชา ศอ354 ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจการบิน เป็นรายวิชาเฉพาะด้าน (กลุ่มเลือกภาษา) ในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาได้ศึกษาคำศัพท์ สำนวน และทักษะการสื่อสารที่จำเป็นต่อการบริการภาคพื้นและการบริการบนเครื่องบิน การเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ ศูนย์การเรียนรู้เพื่อความเป็นเลิศทางด้านการบิน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จะช่วยเปิดประสบการณ์การเรียนรู้นอกห้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการภาคพื้น การให้บริการบนเครื่องบิน การพัฒนาบุคลิกภาพ และเป็นการสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาเองไปสู่ความเป็นเลิศให้กับนักศึกษาที่สนใจจะประกอบอาชีพในธุรกิจการบินและอุตสาหกรรมบริการด้านอื่น ๆ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้นอกห้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการภาคพื้น การให้บริการบนเครื่องบิน และการพัฒนาบุคลิกภาพ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการและร้อยละของนักศึกษาที่ได้คะแนนการทดสอบย่อยหลังเข้าร่วมโครงการ 3 คะแนนขึ้นไป
KPI 1 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้คะแนนการทดสอบย่อยหลังเข้าร่วมโครงการ 3 คะแนนขึ้นไป (เต็ม 5 คะแนน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 70 70
KPI 2 : ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการและร้อยละของนักศึกษาที่ได้คะแนนการทดสอบย่อยหลังเข้าร่วมโครงการ 3 คะแนนขึ้นไป
ชื่อกิจกรรม :
การศึกษาดูงานนอกสถานที่ ณ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการบิน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ในโครงการบูรณาการรายวิชา: เปิดประสบการณ์เรียนรู้ด้านธุรกิจการบิน (ครั้งที่ 2)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/01/2568 - 09/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ภาคศิริ ปั้นลี้  ทองเสน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดาราณี  ชุมทอง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าบริการการใช้สถานที่ (ห้อง CMRU Terminal และ Grooming Room)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,750.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ 600 บาท * 6 ชั่วโมง * 2 คน = 7,200 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ 1,200 บาท * 6 ชั่วโมง * 1 คน = 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 24150.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการให้บริการภาคพื้นและการให้บริการบนเครื่องบิน
ช่วงเวลา : 18/11/2567 - 19/10/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล