22864 : โครงการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวและการออกแบบประสบการณ์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางดวงใจ ไพพงค์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/12/2567 15:06:35
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/12/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  182  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาพัฒนาการท่องเที่ยวและอาจารย์ผู้ควบคุม
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพัฒนาการท่องเที่ยว หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ แผนงานการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาพัฒนาการท่องเที่ยว กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2568 142,665.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. วลัยลดา  ถาวรมงคลกิจ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.2.1 พัฒนาและสนับสนุนนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 TDS 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67-70 TDS 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่มีสมรรถนะในระดับสากล
ตัวชี้วัด 67-70 TDS 2.1.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 67-70 TDS พัฒนาและสนับสนุนนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นสถาบันที่มุ่งเน้นด้านการเกษตร ซึ่งยึดถือการพัฒนาบนฐานของความเคารพและให้ความสำคัญกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยสีเขียวและมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศตามลำดับ โดยมีกลยุทธ์การพัฒนาผ่านการบูรณาการพันธกิจของมหาวิทยาลัยทุกด้านให้ครอบคลุมสู่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งนักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า ตลอดจนชุมชนและเกษตรกร เพื่อขับเคลื่อนสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิตตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาการท่องเที่ยว คณะพัฒนาการท่องเที่ยว มีความตระหนักถึงหน้าที่ในการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์และนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยนำเอายุทธศาสตร์ดังกล่าวมาบูรณาการเข้ากับการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังตามที่หลักสูตรกำหนด และสร้างความเข้าใจถึงองค์รวมในการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนทางด้านการท่องเที่ยวเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โครงการการจัดการแหล่งท่องเที่ยวและการออกแบบประสบการณ์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ“Destination Management and Experience Design for Wellness Tourism” เป็นโครงการที่มีกิจกรรมซึ่งออกแบบให้นักศึกษาเข้าใจการปรุงประกอบอาหารจากวัตถุดิบอินทรีย์พื้นถิ่นตามฤดูกาลโดยเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ซึ่งหลักสูตรสาขาพัฒนาการท่องเที่ยวได้นำเอาองค์ความรู้ผนวกเข้ากับศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวเชิงศิลปวิทยาการอาหาร หรือ Gastronomy Tourism จัดเป็นโครงการเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการในแหล่งท่องเที่ยว เสริมสร้างประสบการณ์ให้แก่นักท่องเที่ยวโดยใช้คุณค่าแห่งผลผลิตจากวัตถุดิบพื้นถิ่นตามฤดูกาล หรือวัตถุดิบอินทรีย์ เป็นใจความในการสื่อสารผ่านอาหาร ต่อยอดเป็นสินค้าและบริการตามโครงการ EatWell DrinkWell ที่คณะพัฒนาการท่องเที่ยวเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 เพื่อส่งมอบให้กับนักท่องเที่ยว เพิ่มขีดความสามารถให้ผู้เกี่ยวข้องในห่วงโซ่คุณค่ามีความเข้มแข็ง และเพิ่มมูลค่าให้แก่แหล่งท่องเที่ยวต่อไป ตลอดจนการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เนื่องจากการท่องเที่ยวของประเทศมาการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตามปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยด้านพฤติกรรมการท่องเที่ยวและปัจจัยเชิงโครงสร้างของประชากร ก่อให้เกิดการพยายามแสวงหาการดูแลสุขภาพ จึงทำให้การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพมีแนวโน้มที่ได้รับความนิยมมากยิ่งขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวคิดการเพิ่มมูลค่าแหล่งท่องเที่ยวด้วยการปรุงประกอบอาหารโดยใช้วัตถุดิบอินทรีย์ตามฤดูกาล
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวทางการออกแบบประสบการณ์ให้แก่นักท่องเที่ยวผ่านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Wellness Tourism)
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการจัดการพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Wellness Tourism)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจหลักการจัดการพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และแนวทางการออกแบบประสบการณ์ให้แก่นักท่องเที่ยว รวมถึงเข้าใจแนวคิดการเพิ่มมูลค่าแหล่งท่องเที่ยวด้วยการปรุงประกอบอาหารโดยใช้วัตถุดิบอินทรีย์ตามฤดูกาลผ่านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ รวมทั้ง
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
32 150 คน 182
KPI 2 : เมนูอาหาร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เมนู 2
KPI 3 : ประเมินผลกิจกรรม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 4 คะแนน 4
KPI 4 : infographic
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
32 40 ชิ้นงาน 72
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจหลักการจัดการพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และแนวทางการออกแบบประสบการณ์ให้แก่นักท่องเที่ยว รวมถึงเข้าใจแนวคิดการเพิ่มมูลค่าแหล่งท่องเที่ยวด้วยการปรุงประกอบอาหารโดยใช้วัตถุดิบอินทรีย์ตามฤดูกาลผ่านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ รวมทั้ง
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การศึกษาดูงานการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (บ้านไร่กองขิง) “Tourism Destination Management for Wellness Tourism”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/12/2567 - 25/12/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วัชรีวรรณ  ชาติพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 200 บาท x 37 คน x 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 บาท x 37 คน x 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,590.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,590.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1,500 บาท x 4 คัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1,200 บาท x 4 คน x 4 ชั่วโมง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
19,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 35190.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การสร้างสรรค์ตำรับอาหารจากวัตถุดิบตามฤดูกาลเพื่อสร้างประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ “Creative Food Design for Wellness Tourism Experience”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2568 - 31/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วลัยลดา  ถาวรมงคลกิจ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดฝึกอบรม หัวข้อ การสร้างสรรค์ตำรับอาหารจากวัตถุดิบตามฤดูกาลเพื่อสร้างประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ “Creative Food Design for Wellness Tourism Experience จำนวน 1 งาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 66,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 66,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1,500 บาท x 12 คัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 18,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 84000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การศึกษาดูงานการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ “Tourism Destination Management for Wellness Tourism”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2568 - 28/02/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.วัชรีวรรณ  ชาติพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 บาท x 45 คน x 1 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,575.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,575.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมารถพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 1,500 บาท x 5 คัน x 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1,200 บาท x 4 คน x 3 ชั่วโมง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23475.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล