22854 : โครงการเสริมสร้างความรู้ ทักษะและประสบการณ์ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
อาจารย์วีรชัย เพชรสุทธิ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/12/2567 21:39:23
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
15/01/2568  ถึง  11/08/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  40  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง และสาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง..
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ขอเบิกใช้งบประมาณ 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วีรชัย  เพชรสุทธิ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.3.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.3.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเป็นหนึ่งในสาขาวิชาที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ชายฝั่งที่การพัฒนาอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมีความสำคัญทั้งในด้านการสร้างรายได้ การส่งออก และการเพิ่มโอกาสในการจ้างงานในชุมชนท้องถิ่น การเตรียมความพร้อมของนักศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่เหมาะสมสำหรับการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจึงเป็นเรื่องสำคัญ ปัจจุบัน อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งต้องเผชิญกับความท้าทายหลายประการ ทั้งด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัดการคุณภาพน้ำ การควบคุมโรคในสัตว์น้ำ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต นักศึกษาที่กำลังศึกษาในสาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจำเป็นต้องได้รับการเสริมสร้างทักษะที่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน รวมถึงการเตรียมตัวสำหรับการศึกษาต่อในระดับสูง เพื่อพัฒนานักศึกษาในสาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งให้มีความพร้อมทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ โครงการนี้มุ่งเน้นการเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ผ่านกิจกรรมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงานในสถานที่จริง และการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม การดำเนินโครงการนี้จะช่วยให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานหรือการศึกษาต่อในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการนี้ยังสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและการวิจัย นอกจากนี้โครงการดังกล่าวยังได้ บูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ ดังนี้ 11302322 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ, 11302323, การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล, 11302361 ระเบียบวิธีวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักศึกษาต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 และ 4 สาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ในด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งที่สอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรม
เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ปฏิบัติจริงในด้านการจัดการฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสำหรับการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง หรือการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
เพื่อพัฒนาความมั่นใจและความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริงที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งและสาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งได้รับความรู้ ทักษะและประสบการณ์ทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งมีความพร้อมในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 คน 40
KPI 2 : ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งและสาขาวิชานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งได้รับความรู้ ทักษะและประสบการณ์ทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งมีความพร้อมในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
ชื่อกิจกรรม :
ฝึกทักษะและลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง (กุ้งขาวแวนนาไม, หอยนางรม, ปูทะเล, ปลากะพงขาว, สาหร่ายทะเล)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2568 - 11/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ขอเบิกใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
อบรมและเสวนาถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจากศิษย์เก่า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2568 - 11/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ขอเบิกใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
ทัศนศึกษาดูงานนอกสถานที่และเข้าร่วมกิจกรรมงานด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 15/01/2568 - 11/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วีรชัย  เพชรสุทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ขอเบิกใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
บูรณาการกับวิชา 11302322 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ ในหัวข้อการปฏิบัติการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ประกอบด้วยกุ้งขาวแวนนาไม, หอยนางรม, ปูทะเล, ปลากะพงขาว, สาหร่ายพวงองุ่น, สาหร่ายผักกาดทะเล 11302323 การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล ในหัวข้อ การทัศนศึกษาดูงานนอกสถานที่และเข้าร่วมกิจกรรมงานวันกุ้งไทย 11302361 ระเบียบวิธีวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ในหัวข้อการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจากศิษย์เก่า
ช่วงเวลา : 15/01/2568 - 11/08/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล