22852 : โครงการการศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงในพื้นที่แปลงปลูกเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางธนันธรณ์ วุฒิญาณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/1/2568 14:27:04
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
23/12/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร และบุคคลทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณสนับสนุนโครงการ อพ.สธ.-มจ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2568 170,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลพร  ปานง่อม
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68-2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68-2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มะเกี๋ยง (Syzygium nervosum DC. var. paniala (Roxb) เป็นไม้ยืนต้นที่พบมากในพื้นที่ภาคเหนือของไทยเป็นพืชที่ถูกจัดอยู่ในวงศ์ Myrtaceae โดยมะเกี๋ยงเป็นพืชที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นพันธุ์พืชจากกรมวิชาการเกษตร ในการเป็นพืชในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ซึ่งมีหลากหลายทางสายพันธุ์ โดยพื้นที่หน่วยประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ มีพื้นที่แปลงอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากพืชมะเกี๋ยง โดยสายพันธุ์ที่ปลูกในพื้นที่ได้รับต้นพันธุ์มาจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านา วิทยาเขตลำปาง ซึ่งเป็นสายพันธุ์อาร์เอสพีจี–เอ็มเค–004 (RSPG-MK-004) มะเกี๋ยงนั้นนับเป็นผลไม้พื้นบ้านทางภาคเหนือของประเทศไทยมีรสชาติเปรี้ยวอมหวานเมื่อผลสุกแล้วจะเสียง่าย โดยคุณประโยชน์ของมะเกี๋ยงนั้นชาวบ้านนิยมนำมารับประทานสด ใส่ต้มยำ และแปรรูปเป็นน้ำผลไม้ ไวน์ แยม มะเกี๋ยงแช่อิ่ม มะเกี๋ยงได้รับการสำรวจและรวบรวมสายพันธุ์ครั้งแรกในช่วงปี พศ. 2537 - 2538 ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ต่อมาได้รับการอนุรักษ์และศึกษาข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆ เช่น ลักษณะสัณฐานวิทยา ลำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด และศึกษาองค์ประกอบและคุณสมบัติทางด้านเคมี คุณค่าทางโภชนาการ กายวิภาควิทยา โครโมโซม การคัดเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมในการปลูกแต่ละพื้นที่ การขยายพันธุ์ และการเขตกรรมจนนำไปสู่การขึ้นทะเบียนสายพันธุ์มะเกี๋ยงกับกรมวิชาการเกษตรตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 และมีการศึกษาวิจัยข้อมูลพื้นฐานเพื่อขอขึ้นทะเบียนสายพันธุ์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแต่ละสายพันธุ์จะมีแหล่งเพาะปลูกต้นกำเนิดและลักษณะเด่น เช่น สี รสชาติ รวมทั้งองค์ประกอบทางเคมีและชีวเคมีที่เป็นเอกลักษณ์ ในการขยายพันธุ์มะเกี๋ยงมีทั้งการใช้ระบบการตอนกิ่งและการเพาะเมล็ด ทำให้พันธุกรรมของมะเกี๋ยงมีความหลากหลาและแปรปรวนไปในแต่ละพื้นที่ การระบุลักษณะทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงเพื่อให้สอดรับกับลักษณะทางสัณฐานวิทยาและอัตลักษณ์ประจำพันธุ์ของมะเกี๋ยงมีความจำเป็นเนื่องจากจะได้ทราบข้อมูลทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงที่มีลักษณะประจำพันธุ์ที่ดี เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของมะเกี๋ยงได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน ดังนั้นโครงการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงในพื้นที่แปลงปลูกเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ เพื่อระบุความแตกต่างหรือความแปรปรวนทางพันธุกรรมของสายพันธ์ของมะเกี๋ยง เปรียบเทียบกับมะเกี๋ยงจากแหล่งต้นพันธุ์มะเกี๋ยงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านา วิทยาเขตลำปาง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2 เพื่อศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงในพื้นที่แปลงปลูกเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
3 เพื่อปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชมะเกี๋ยง โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ในเรื่องพันธุกรรมของมะเกี๋ยงให้กับเยาวชนและบุคคลทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : โครงการการศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงในพื้นที่แปลงปลูกเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
170000 บาท 170000
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 4 : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้ความผันแปรทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนบทความเผยแพร่องค์ความรู้ความผันแปรทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : โครงการการศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงในพื้นที่แปลงปลูกเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ชื่อกิจกรรม :
1 การศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยงในพื้นที่แปลงปลูกเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ธัญญรัตน์  เชื้อสะอาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อุบลวรรณ  สุภาแสน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอัญชลี  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าพาหนะ (ไป-กลับ)
- จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลำปาง) จำนวน 3 ครั้ง ๆ ละ 271 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 3,252 บาท
- จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ – ร้านสแตนดาร์ดก๊าซ ลำปาง จำนวน 2 ครั้ง ๆ ละ 304 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท
เป็นเงิน 2,432 บาท
ค่าที่พักเหมาจ่าย จำนวน 3 คืน ๆ 2 ห้อง ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ค่าเบี้ยงเลี้ยง จำนวน 3 ครั้ง ๆ ละ 3 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 4,320 บาท
ค่าจ้างเหมาในการหาลำดับเบสของการศึกษาพันธุกรรมของพืชมะเกี๋ยง จำนวน 20 ตัวอย่างๆ ละ 230 บาท เป็นเงิน 4,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 19,404.00 บาท 0.00 บาท 19,404.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ เช่น ชุดน้ำยาสกัดดีเอ็นเอของตัวอย่างพืช แอลกอฮอล์ ไพรเมอร์ อะกาโรส น้ำกลั่นบริสุทธิ์ สารละลายบัฟเฟอร์ น้ำยาสำเร็จรูปในการทำให้ผลผลิตพีซีอาร์บริสุทธิ์ เป็นต้น เป็นเงิน 118,446 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 118,446.00 บาท 0.00 บาท 118,446.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 137850.00
ชื่อกิจกรรม :
2 การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสัณฐานวิทยาและพันธุกรรมของพืชมะเกี๋ยง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 23/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลพร  ปานง่อม (ผู้รับผิดชอบหลัก)
รองศาสตราจารย์ ดร.วีรนันท์  ไชยมณี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มณฑล  นอแสงศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร  ผูกคล้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ธัญญรัตน์  เชื้อสะอาด (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ปิยะพิศ  ขอนแก่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.อุบลวรรณ  สุภาแสน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางอัญชลี  ปินตาวงค์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าจ้างเหมาในการจัดทำเอกสารเผยแพร่องค์ความรู้ทางพันธุกรรมของมะเกี๋ยง จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 100 บาท เป็นจำนวนเงิน 5,000 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 1,500 บาท
ค่าจ้างเหมาในการจัดทำรายงานโครงการ จำนวน 3 เล่ม ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท 0.00 บาท 17,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น หมึกพิมพ์ กระดาษ A4 ปากกา เป็นต้น เป็นเงิน 6,600 บาท
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น น้ำยาล้างจาน ทิชชู ขวดแก้ว ถุงมือ ผ้ากันเปื้อน เป็นต้น เป็นเงิน 2,150 บาท
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น เม้าส์ คีย์บอร์ด เป็นต้น เป็นเงิน 2,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,050.00 บาท 0.00 บาท 11,050.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 32150.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1) การออกยอดอ่อนของมะเกี๋ยงไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1) บำรุงดูแลต้นมะเกี๋ยงอย่างเต็มที่
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล