22829 : การผลิตสารชีวภัณฑ์เพื่อการค้า มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
อาจารย์ประสาทพร กออวยชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/12/2567 21:58:11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
28/12/2567  ถึง  25/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  เกษตรกร นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากโครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 1) การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 100 ปี (SPO) 2568 5,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ประสาทพร  กออวยชัย
อาจารย์ ปิยนุช  จันทรัมพร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดียั่งยืน รักษ์โลก ไร้โรค (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 1.1.4 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 1.1.4.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมรวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.4 โครงการเพิ่มรายได้จากทรัพยากรแม่โจ้-ชุมพร (ชุมพร)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.4.1 ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้จากการให้บริการวิชาการ ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มรายได้ให้กับมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการ การผลิตสารชีวภัณฑ์เพื่อการค้า มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 100 ปี (2577) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสนับสนุนงานของโครงการ Well-being@chumphon โดยกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นในโครงการเป็นกิจกรรมที่ดำเนินการทั้งในระบบต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำ ทุกกิจกรรมส่งเสริมให้ยุทธศาสตร์ 100 ปี (2577) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประสบความสำเร็จ และผลการดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรมในชุดโครงการจะตอบสนองความต้องการของเกษตรกรในพื้นที่ ช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่ผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย์ ทำให้ปลอดภัยทั้งต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค รักษาสภาพแวดล้อม โครงการบริการวิชาการนี้ จะสอดคล้องกับกลยุทธ์การพัฒนา (Strategy) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในข้อที่ 7. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ข้อที่ 8.พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน ข้อที่ 9.สร้างแม่โจ้ให้เป็นชุมชนสีเขียว(Green Society) ข้อที่ 10.สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแก่นักศึกษา บุคลากร และชุมชน ข้อที่ 11.พัฒนาพื้นที่ต้นแบบ "Green Campus" แบบครบวงจร งานบริการวิชาการเรื่องนี้ สอดคล้องกับแนวประราชดำริของพระเจ้าอยู่หัวฯ ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเน้นการพึ่งพาตนเอง เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต ที่สำคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และความเพียร” ซึ่งจะนำไปสู่ “ความสุข” ในการดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการใช้ชีวิต

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
ผลิตเชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อราเมธาไรเซียม และเชื้อบิวเวอเรีย เพื่อใช้ในระบบเกษตรอินทรีย์และในระบบเกษตรปลอดภัย
การผลิตเชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อราเมธาไรเซียม และเชื้อบิวเวอเรีย เพื่อจำหน่ายในเชิงการค้า
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อเมธาไรเซียม เชื้อบิววาเรีย
KPI 1 : โครงการที่เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 เปอร์เซ็นต์ 100
KPI 2 : เชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อราเมธาไรเซียม และเชื้อบิวเวอเรีย จำนวน 3000 ถุง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
500 1000 1000 500 ถุง 3000
KPI 3 : ความพึ่งพอใจของเกษตรกรต่อผลิตภัณฑ์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 เปอร์เซ็นต์ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เชื้อไตรโคเดอร์มา เชื้อเมธาไรเซียม เชื้อบิววาเรีย
ชื่อกิจกรรม :
ผลิตเชื้อไตรโเดอร์มา มาธาไรเซียม และบิววาเรีย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 28/12/2567 - 25/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ประสาทพร  กออวยชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ปิยนุช  จันทรัมพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ข้าวสาร ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่สามารถเบิกคืนค่าส่งของได้
ไม่สามารถเบิกจ่ายเงินส่วนเกินนอกเหนือจากเงินเดือนบุคลากรประจำฐานได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การผลิตและใช้สารชีวภัณฑ์
ช่วงเวลา : 07/08/2568 - 25/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล