22816 : SAS-68 โครงการพัฒนานักรัฐประศาสนศาสตร์สู่การเป็นผู้ประกอบการ ประจำปีการศึกษา 2567 : นโยบายภาครัฐ ทิศทางเศรษฐกิจ และบทบาทของผู้ประกอบการ กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นายนัฐพล ภาคภูมิ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 17/12/2567 10:05:40
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
12/12/2567  ถึง  08/01/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  160  คน
รายละเอียด  อาจารย์ และนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 160 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินรายได้หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต 2568 8,800.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. พิชญ์  จิตต์ภักดี
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.3.1 พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตเพื่อรองรับหรือเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในตลาดแรงงานระดับอาเซียนหรือนานาชาติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ SAS 64-68 (1) จัดการศึกษาด้านการเมืองการปกครอง กฎหมาย การระหว่างประเทศ การบริหารรัฐกิจ และการบริหารกิจการสังคม
เป้าประสงค์ SAS 68 (1.1) ผลิตบัณฑิตมุ่งสู่ความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizen)
ตัวชี้วัด SAS-65-68 ร้อยละของบัณฑิต(ปริญญาตรี)ที่มีงานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
กลยุทธ์ SAS ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะนักศึกษาให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและการประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยมีแนวทางการพัฒนาประเทศที่มุ่งสร้างคนที่มีคุณภาพและมีจริยธรรม รวมไปถึงมีทักษะและความสามารถแห่งอนาคต ดังนั้น การอุดมศึกษาจึงมีหน้าที่ในการผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ โดยให้สถาบันอุดมศึกษาสร้างความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ตลอดจนสร้างหลักสูตรที่สามารถผลิตให้มีทักษะและสมรรถนะตามความต้องการของตลาดแรงงาน ผ่านการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการให้กับผู้เรียนสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน วิทยาลัยบริหารศาสตร์ เป็นหน่วยงานหนึ่งในสถาบันอุดมศึกษาที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ด้านการเมืองการปกครองและการบริหารกิจการสังคม และ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ได้มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ความสามารถ และหลักการทางรัฐประศาสนศาสตร์ไปประยุกต์ใช้เพื่อการทำงาน และการใช้ชีวิตในสังคม ตลอดจนมีแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ อีกทั้งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ยังมีเป้าหมายผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในวิชาการและวิชาชีพโดยเฉพาะการเป็นผู้ประกอบการที่ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จึงได้กำหนดจัดโครงการพัฒนานักรัฐประศาสนศาสตร์สู่การเป็นผู้ประกอบการ ประจำปีการศึกษา 2567 : นโยบายภาครัฐ ทิศทางเศรษฐกิจ และบทบาทของผู้ประกอบการ กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ในวันพุธ ที่ 25 ธันวาคม 2567 ณ ห้อง 80-201 อาคารเรียนรวม 80 ปี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ และเข้าใจถึงการเชื่อมโยงแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการกับนโยบายสาธารณะ อันเป็นการผลิตบัณฑิตให้มีทักษะและสมรรถนะสู่ตลาดแรงงานเพื่อพัฒนาประเทศต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงการเชื่อมโยงแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการกับนโยบายสาธารณะ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาได้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ
KPI 1 : นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวคิดผู้ประกอบการ : Entrepreneurial Mindset ไม่น้อยกว่า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : นักศึกษาเข้าใจถึงการเชื่อมโยงแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการกับนโยบายสาธารณะ ไม่น้อยกว่า
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาได้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ
ชื่อกิจกรรม :
รับฟังการบรรยาย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/12/2567 - 25/12/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.พิชญ์  จิตต์ภักดี (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าตอบแทนวิทยากร
วิทยากร 2 คน จำนวน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 160 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล