22788 : โครงการส่งเสริมศักยภาพด้านกีฬาและนันทนาการให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/12/2567 15:26:12
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษา (เบิกจ่ายจากงบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
22/12/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  400  คน
รายละเอียด  นักศึกษาสาขาวิชาต่างๆของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ (งบพัฒนากิจกรรมนักศึกษา) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2568 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย สมศักดิ์  กันถาด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการสื่อสารองค์กร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68-2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68-2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

กิจกรรมนักศึกษามีส่วนอย่างสำคัญในการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ให้มีความสมบูรณ์พร้อม ทั้งความรู้ด้านวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิตสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สังคมไทยเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง กระแสโลกาภิวัตน์ ข้อมูลข่าวสาร ความเจริญ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีโดยเฉพาะการสื่อสาร ทำให้สังคมไทยเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและขับเคลื่อนตลอดเวลา เราหยุดได้ไหม หยุดไม่ได้ แต่เลือกรับและปรับใช้ให้เหมาะกับสังคมไทยได้ ชีวิตที่เรียบง่ายเปลี่ยนเป็นการแข่งขัน ไร้น้ำใจ การไหลบ่าของวัฒนธรรมตะวันตกเปลี่ยนสภาพสังคมไทยจากวิถีชีวิตที่เรียบง่าย สงบ และเอื้ออาทร เป็นสังคมบริโภคนิยม (ซื้อได้ทุกอย่าง ใช้แต่เงินไปแลกเปลี่ยน) มีการแข่งขันสูง ไร้น้ำใจ ต่างคนต่างอยู่ เอารัดเอาเปรียบ ไม่คำนึงถึงศีลธรรม วิกฤติทางสังคม เป็นปัญหาใหญ่ที่สังคมไทยประสบอยู่ โดยเฉพาะความประพฤติของเยาวชน โดยเฉพาะนักเรียน นิสิตนักศึกษา มีหลายเรื่องที่ดูแล้วไม่เหมาะสม ล่อแหลม เสี่ยงต่ออันตราย บางพฤติกรรมนำมาซึ่งความเสื่อมเสียชื่อเสียงทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสถาบันการศึกษา บางพฤติกรรมนำไปสู่การสูญเสียอนาคต บ้างสูญเสียชีวิต การเปลี่ยนแปลงข้างต้น ทำให้การเตรียมนักศึกษาเพื่อให้เป็น “ทรัพยากรบุคคล”ที่มีความสำคัญต่อการ “สร้างสรรค์สังคม” นำพาประเทศชาติไปสู่ความผาสุกได้เปลี่ยนไปจากเดิมค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขณะนี้ ประเทศไทยกำลังประสบวิกฤติทางสังคมการเมือง และเศรษฐกิจ อย่างหนักดังที่ปรากฏเป็นข่าวต้องการกำลังคนของประเทศ ตามมาตรฐานวิชาการ/วิชาชีพ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ จะต้องส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมนักศึกษาด้านกีฬา หรือกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยและองค์การนักศึกษา เป็นกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมจะมีโอกาสได้รับการพัฒนาสติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย คุณธรรมจริยธรรม และสัมธภาพทางกาย เพื่อให้รู้การรู้แพ้รู้ชนะ และเพื่อการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ (Maejo Glocal Citizen)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
2. เพื่อส่งเสริมทักษะด้านกีฬาและนันทนาการให้แก่นักศึกษา
3. เพื่อส่งเสริมและสร้างความสามัคคีในหมู่นักศึกษา
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ทักษะด้านกีฬาและนันทนาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
KPI 1 : โครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
400 คน 400
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ทักษะด้านกีฬาและนันทนาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ชื่อกิจกรรม :
กีฬาลุ่มน้ำสัมพันธ์ ประจำปี 2567

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสมศักดิ์  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธรรมศักดิ์  พันธุ์แสนศรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 400 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
2. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล เป็นเงิน 1,200 บาท
3. ค่าเช่าเวทีพร้อมระบบแสง สี เสียง เป็นเงิน 6,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล