22736 : โครงการเสวนาวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อนิรุต หนูปลอด (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/11/2567 18:24:25
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2567  ถึง  31/08/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  ไม่ระบุ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 3) 2568 12,810.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. อนิรุต  หนูปลอด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
น.ส. ตรีชฎา  สุวรรณโน
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ 68 MJU 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 68 MJU 3.1.3 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound)
กลยุทธ์ 68 MJU 3.1.3.1 เพิ่มจำนวนคณาจารย์และนักวิจัยแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ (Visiting Professor) ทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 3. การขับเคลื่อนความเป็นนานาชาติ (International)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 3.1 ความสำเร็จในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 3.1.1 จำนวนอาจารย์/นักวิจัยแลกเปลี่ยน หรือบุคลากรชาวต่างชาติ (Inbound/Outbound)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 3.1.1.1 เพิ่มจำนวนคณาจารย์และนักวิจัยแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ (Visiting Professor) ทั้ง Inbound และ Outbound
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การเรียนการสอนในปัจจุบันนี้ ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงความเป็นนานาชาติไม่ได้ เนื่องจากการร่วมกลุ่มของประเทศต่างๆ เพื่อทำกิจกรรมกัน ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม และที่สำคัญที่สุดคือความร่วมมือด้านด้านการศึกษา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในแนวทาง นโยบายของแต่ละประเทศมากยิ่งขึ้น เพราะความแตกต่างในทุกๆ ด้านของแต่ละประเทศ ดังนั้นการเรียนการสอนในสาขาวิชารัฐศาสตร์ ได้จัดการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาในด้านความรู้ความเข้าใจในกระบวนวิชาทั้งในทางทฤษฎี และในเชิงประจักษ์ เช่น วิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น วิชาการเมืองการปกครองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วิชาภาวะผู้นำและการจัดการความขัดแย้ง วิชาความมั่นคงและสันติศึกษา เป็นต้น จึงเป็นโอกาสดีที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้ในเชิงประจักษ์ โครงการเสวนาวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน จึงเกิดขึ้น นอกจากนั้นยังเป็นการสร้างความร่วมทางวิชาการ มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ผู้สอน ทางด้านวิชาการระดับนานาชาติ เพื่อเปิดมุมมอง แนวคิด และหลักวิชาการต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ให้ให้เข้ากับบริบทของประเทศไทย

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแก่นักศึกษาหลักสูตรรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร
2 เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคณาจารย์ด้านการเรียนการสอน การวิจัย แลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษาในระดับนานาชาติ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การเสวนาวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน ได้ผลงานวิชาการที่เผยแพร่ในระดับชาติ หรือ นานาชาติ
KPI 1 : จำนวนผลงานวิชาการที่เผยแพร่ในระดับชาติ หรือ นานาชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลงาน 1
KPI 2 : บุคลากรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และนักศึกษาได้ประสบการณ์การร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / ประสบการณ์ด้านการต่างประเทศ ที่เกี่ยวกับการเมืองการปกครอง ภาษาและวัฒนธรรมประเพณี
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การเสวนาวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน ได้ผลงานวิชาการที่เผยแพร่ในระดับชาติ หรือ นานาชาติ
ชื่อกิจกรรม :
1.การจัดประชุมเสวนาวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน โดย สาขาวิชารัฐศาสตร์และ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
2.แลกเปลี่ยนประสบการณ์ นักศึกษา อาจารย์ ระหว่างมหาวิทยาลัย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อนิรุต  หนูปลอด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ชุมพล  อังคณานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ฉันทวรรณ  เอ้งฉ้วน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ฉัตรนลิน  แก้วสม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ฐิติมา  ศรีพร (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.พิไลวรรณ  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ตรีชฎา  สุวรรณโน (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางพรลภัส  พงษ์พานิช (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายประภัย  สุขอิน (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศิริมาศ  เจี้ยมกลิ่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ฐิตาภรณ์  ปิโม (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสาวเพชรณี  ศรีมูล (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.สายทอง  สุจริยาพงศ์พร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมสัมมนาแบบ Onsite) จำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 27 บาท เป็นเงิน 810 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
810.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 810.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12810.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
บูรณาการกับ รายวิชา กท313, กท241, กท352
ช่วงเวลา : 18/11/2567 - 09/03/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
บูรณาการกับ รายวิชา กท352 และโครงการวิจัย Landbridge
ช่วงเวลา : 18/11/2567 - 09/03/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล