22733 : โครงการ การประเมินมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่สวนชาเมี่ยง บ้านตาแวน ตำบลเรือง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางธนันธรณ์ วุฒิญาณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 27/11/2567 13:31:51
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน


กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  ประกอบด้วย นักวิจัย นักศึกษา กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกสวนชาเมี่ยง และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม





ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณสนับสนุนโครงการ อพ.สธ.-มจ ประจำปี 2568 2568 170,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-6. การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ / อัตลักษณ์ของส่วนงาน
เป้าประสงค์ 68-6.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่พัฒนาตามยุทธศาสตร์ /อัตลักษณ์ของส่วนงาน
ตัวชี้วัด 68-6.1.2 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้าน SDGs เป้าหมายที่ 13 Climate Action
กลยุทธ์ 68-6.1.2.1 ส่งเสริมและยกระดับโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติที่มีการเผยแพร่ให้หน่วยงานท้องถิ่นหรือชุมชนในพื้นที่ได้รับทราบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

สวนชาเมี่ยงในหลายๆ พื้นที่ทางภาคเหนือของประเทศ เช่น เชียงใหม่ น่าน ลำปาง แพร่ เชียงราย และ แม่ฮ่องสอน เป็นต้น การสำรวจรวบรวมข้อมูลวัฒนธรรมการผลิตเมี่ยงหมักพื้นบ้าน ที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวล้านนาเมี่ยงหมัก เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตในเขตพื้นที่ภาคเหนือมาช้านาน เมี่ยงทำจากชาหมักพันธุ์อัสสัม (Camellia sinensis var. assamica) สามารถแบ่ง เมี่ยง เป็น 2 แบบ คือ เมี่ยงที่ทำจากใบชาอ่อน เรียกว่า “เมี่ยงฝาด” และ เมี่ยงที่ทำจากใบชาแก่ เรียกว่า “เมี่ยงส้ม” (สายลม และ คณะ, 2551) มีประโยชน์และสรรพคุณทางยามากมาย เช่นมีสารต้านอนุมูลอิสระประเภทฟลาโวนอยด์ ลดอัตราเสี่ยงในการเป็นโรคที่คร่าชีวิตคนไทยอันดับหนึ่ง ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ และภาวะไขมันในเลือดสูง เป็นต้น นอกจากนี้เมี่ยงยังสร้างรายได้มูลค่าถึง 229,360,251 บาท ในปี พ.ศ. 2550 (สายลม และ คณะ, 2551) ปัจจุบันการทำสวนเมี่ยงได้ลดจำนวนลงจากหลายๆ สาเหตุ เช่น มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชน์ที่ดินเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นๆ ที่ได้รับผลตอบแทนสูงกว่า บางพื้นที่ขาดการจัดการสวนเมี่ยง และมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คณะนักวิจัยจึงเกิดแนวความคิดการวิจัยและพัฒนารูปแบบการประเมินการกักเก็กเก็บคาร์บอนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนขึ้น ในพื้นที่สวนชาเมี่ยงเพื่อเป็น ต้นแบบการฝึกการประเมินมวลชีวภาพ และการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่สวนชาเมี่ยง เป็นรูปแบบส่งเสริมและจัดการสวนชาเมี่ยงแบบมีส่วนร่วม ร่วมคิดวางแผน ร่วมทำ ร่วมวิเคราะห์ และการนำผลงานไปใช้ประโยชน์โดยการฝึกแกนนำของชุมชน และสามารถให้แกนนำเหล่านี้ถ่ายทอดให้กับรุ่นต่อๆ ไปและสวนชาเมี่ยงใกล้เคียงเป็นแหล่งศึกษาดูงานในการเป็นต้นแบบการดำเนินการ การประเมินมูลค่า และการประเมินการกักเก็บคาร์บอน ในพื้นที่สวนชาเมี่ยงแบบมีส่วนร่วมได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1.เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2.เพื่อประเมินปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่สวนชาเมี่ยง บ้านตาแวน ตำบลเรือง อำเภอเมือง จังหวัดน่านอย่างมีส่วนร่วม
3.เพื่อเป็นข้อมูลการวางแผนการซื้อขายคาร์บอนเครดิตของชุมชนในอนาคตได้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การประเมินมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่สวนชาเมี่ยง บ้านตาแวน ตำบลเรือง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน
KPI 1 : ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับบริการวิขาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ต้นแบบการประเมินมูลค่าต้นไม้ การประเมินการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่ สวนชาเมี่ยง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
170000 บาท 170000
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : - จำนวนเกษตรกรผู้ปลูกสวนชาเมี่ยง นักศึกษาและผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การประเมินมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่สวนชาเมี่ยง บ้านตาแวน ตำบลเรือง อำเภอเมือง จังหวัดน่าน
ชื่อกิจกรรม :
1 ศึกษาและสำรวจข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อลิษา  อินจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 6 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 1,440 บาท
- ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ส่วนตัว จำนวน 1 คัน เป็นเงิน 1,576 บาท
- ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย จำนวน 4 คืน ๆ ละ 800 บาท จำนวน 1 ห้อง เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,216.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,216.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6216.00
ชื่อกิจกรรม :
2 การวางแปลงศึกษาโครงสร้างสังคมพืช อย่างมีส่วนร่วม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อลิษา  อินจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 12 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 2,880 บาท
- ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ส่วนตัว จำนวน 1 คัน เป็นเงิน 3,152 บาท
- ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย จำนวน 8 คืน ๆ ละ 800 บาท จำนวน 1 ห้อง เป็นเงิน 6,400 บาท
- จ้างเหมาเก็บข้อมูลภาคสนามและทำแผนที่โดยใช้โปรแกรม GIS จำนวน 1 กิจกรรม เป็นเงิน 35,000 บาท
- จ้างเหมาผู้นำทางเดินป่า จำนวน 5 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 52,432.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 52,432.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 52432.00
ชื่อกิจกรรม :
3 การวิเคราะห์ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนและการแปรผลอย่างมีส่วนร่วม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อลิษา  อินจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 12 วัน ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 2,880 บาท
- ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ส่วนตัว จำนวน 1 คัน เป็นเงิน 3,152 บาท
- ค่าที่พักแบบเหมาจ่าย จำนวน 8 คืน ๆ ละ 800 บาท จำนวน 1 ห้อง เป็นเงิน 6,400 บาท
- จ้างเหมาการประเมินหามวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอน จำนวน 1 กิจกรรม เป็นเงิน 45,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 57,432.00 บาท 0.00 บาท 57,432.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 57432.00
ชื่อกิจกรรม :
4 การเขียนรายงานผลการดำเนินกิจกรรม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- จ้างเหมาวาดโครงสร้างป่า จัดทำฐานข้อมูลพืช และบันทึกข้อมูล จำนวน 1 กิจกรรม เป็นเงิน 39,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 39,000.00 บาท 0.00 บาท 39,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ้น ฯลฯ เป็นเงิน 1,082 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
1,082.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,082.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40082.00
ชื่อกิจกรรม :
5 กิจกรรมเสวนาคืนองค์ความรู้คาร์บอนเครดิตโดยการมีส่วนร่วมกับเกษตรกร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ ละ 35 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 1,050 บาท
- ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง รถยนต์ส่วนตัว จำนวน 1 คัน เป็นเงิน 788 บาท
- ค่าที่พักแบบเหมาจ่ายจำนวน 1 คืน ๆ ละ 800 บาท จำนวน 3 ห้อง เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,238.00 บาท 0.00 บาท 4,238.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคเสวนา จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท จำนวน 3 คน 1 วัน เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 13838.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การนำนักศึกษาไปฝึกฝนและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน (โดยขอให้ระบุรายวิชา ตาม OBE และระบุจำนวนคน) นักศึกษาปริญญาโท แผน 1.2 จำนวนปีละประมาณ 5 คน วิชาระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการป่าไม้ 21219501 วิชาการจัดการระบบวนเกษตรขั้นสูง 21219662 วิชาการฟื้นฟูภูมิทัศน์ป่าไม้ขั้นสูง 21219521
ช่วงเวลา : 01/12/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล