22687 : โครงการเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ รักษาพล (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/11/2567 14:36:19
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
21/11/2567  ถึง  31/08/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร แกนนำสมาชิกเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร เครือข่ายสถาบันการศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่เบิกค่าใช้จ่าย 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ  รักษาพล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านบุคลากร
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

หากพิจารณาจากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ที่มุ่งเน้นการพัฒนา 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านความมั่นคง 2) ด้านความสามารถในการเข่งขัน 3) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ 4) ด้านการสร้างโอกาสและเสมอภาคทางสังคม 5) ด้านการสร้างความเติมโตของคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6) ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ทั้งยังสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ซึ่งมุ่งพัฒนา 4 ด้าน ประกอบด้วย 4 ด้าน 13 หมุดหมาย 1) ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2) การพัฒนาการท่องเที่ยวเน้นคุณภาพและการเพิ่มมูลค่า 3) ด้านการพัฒนาสังคม 4) ด้านการดำรงวิถีชีวิตที่ยั่งยืน อันเป็นแนวทางในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 พ.ศ. 2565-2568 ที่ยังคงน้อมนำหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศ และฉบับที่ 9-12 ที่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันของสังคมไทยให้การพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน และสร้างความพร้อมของทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนการเงิน ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และทุนทางวัฒนธรรมให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์อย่างบูรณาการและเกื้อกูลกัน การสร้างฐานทางปัญญาเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยให้เป็นสังคมที่มีคุณภาพ ก้าวสู่สังคมและเศรษฐกิจสีเขียวที่มีแบบแผนการผลิตและบริโภคอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส่วนในมิติการท่องเที่ยว ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถในการแข่งขันระดับโลก สามารถสร้างรายได้และกระจายรายได้โดยคำนึงถึงความเป็นธรรม สมดุลและยั่งยืน ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม และการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น โดยมีกลไกการขับเคลื่อนสำคัญ คือ BCG Model ซึ่งเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวม 3 มิติไปพร้อมกัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ดังนั้นกลไกการขับเคลื่อนเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะเป็นช่องทางที่สำคัญในการส่งต่อเจตนารมณ์/ปณิธานของหลักการท่องเที่ยวโดยชุมชนจากระดับพื้นที่สู่ระดับนโยบายทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้วยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนแบบองคาพยพ (เบญจภาคีขับเคลื่อนการท่องเที่ยวโดยชุมชน) ประกอบด้วย สถาบันการศึกษา ภาครัฐ เอกชน NGOs และสื่อมวลชน โดยมีภาคประชาชนเป็นศูนย์กลาง ส่วนภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องซึ่งร่วมอยู่ในกลไกการขับเคลื่อนดังกล่าวนั้น จะมีส่วนร่วมในการสนับสนุนทรัพยากร เช่น บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เป็นต้น โดยเฉพาะทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นตัวแทนจากหน่วยงานที่มีบทบาท หน้าที่ และอำนาจในการตัดสินใจ ทั้งนี้จะได้รับโจทย์การพัฒนาทุกมิติ เช่น การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โครงข่ายการท่องเที่ยว การพัฒนาองค์กรชุมชนและเครือข่าย การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การตลาดและประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการและความคาดหวังของภาคประชาชนทุกระดับ และสอดคล้องตามพันธกิจของหน่วยงานนั้นๆ เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้เกิดความยั่งยืนตั้งแต่ระดับพื้นที่จนถึงระดับประเทศ ทั้งยังเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนประเทศสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน มุ่งให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาและบริหารจัดการ 3 ประการ คือ คุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณภาพประสบการณ์ของนักท่องเที่ยว และคุณภาพชีวิตของประชาชนท้องถิ่น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อหนุนเสริมกลไกการบริหารจัดการเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร และเครือข่ายย่อยระดับอำเภอภายในจังหวัดชุมพร
เพื่อส่งเสริมคุณค่าฐานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน ควบคู่กับสร้างโอกาสและกระตุ้นเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นโดยการสร้างงาน สร้างรายได้ และส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ของประชาชนในชุมชนท้องถิ่นภายในจังหวัดชุมพร
เพื่อผลักดันให้เกิดการสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบบูรณาการจาก 6 องคาพยพ ได้แก่ เครือข่ายภาคประชาชน ภาครัฐ NGOs สื่อสารมวลชน เครือข่ายสถาบันการศึกษา และภาคเอกชน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : กลไกการบริหารจัดการองค์กรเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร และเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนระดับอำเภอภายในจังหวัดชุมพร
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมเครือข่ายมีความเข้าใจในการบริหารจัดการองค์กรเครือข่าย
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : กลไกการบริหารจัดการองค์กรเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร และเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนระดับอำเภอภายในจังหวัดชุมพร
ชื่อกิจกรรม :
หนุนเสริมกลไกการบริหารจัดการองค์กรเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/11/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ  รักษาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์  ทองสง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จุฑามาส  เพ็งโคนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
หนุนเสริมกลไกการบริหารจัดการองค์กรเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนระดับอำเภอ ภายในจังหวัดชุมพร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/11/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ  รักษาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์  ทองสง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จุฑามาส  เพ็งโคนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
ผลักดันให้เกิดการสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบบูรณาการจาก 6 องคาพยพ ได้แก่ เครือข่ายภาคประชาชน ภาครัฐ NGOs สื่อสารมวลชน เครือข่ายสถาบันการศึกษา และภาคเอกชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/11/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ  รักษาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์  ทองสง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จุฑามาส  เพ็งโคนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่เบิกค่าใช้จ่าย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
CBT_68
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 11303023 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว 1. การใช้ทรัพยากรภายในมหาวิทยาลัย และเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนอำเภอละแม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ 2. การศึกษาดูงานและปฏิบัติการภายในพื้นที่เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 3. ออกแบบและนำเที่ยวภายในเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนอำเภอละแม
ช่วงเวลา : 21/11/2567 - 31/08/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
บริการวิชาการแก่สังคม ผ่านรายวิชา 11303016 การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน ปฏิบัติการร่วมระหว่างเครือข่ายเด็กและเยาวชนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชุมพร โดยทดลองเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนควบคู่กับการประเมินค่าการปลดปล่อยคาร์บอนจากกิจกรรมการท่องเที่ยว
ช่วงเวลา : 21/11/2567 - 31/08/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ