22679 : โครงการแนวทางการบริการจัดการบริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง) มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร อย่างยั่งยืน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ รักษาพล (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/11/2567 9:19:11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/11/2567  ถึง  31/08/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  นักศึกษา บุคลากร แกนนำสมาชิกเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่ใช้งบประมาณ 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อำนาจ  รักษาพล
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.8 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.8.1 พัฒนาทักษะนักศึกษาทั้งด้าน Hard Skills และ Soft Skills โดยเฉพาะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญคือ GO Eco U.
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมกศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.4 ส่งเสริมกิจกรรมที่ชื่อมโยงการพัฒนาทักษะจำเป็นของนักศึกษาจากความต้องการจำเป็นและเสียงสะท้อนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholder requirement and feedback) เพื่อการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียน
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.5 ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนานักศึกษานอกห้องเรียนที่ตอบโจทย์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรและปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.1.8 จำนวนรางวัลที่นักศึกษา บุคลากร ศิษย์เก่า หรือส่วนงาน ได้รับในระดับชาติ หรือนานาชาติ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.8.1 พัฒนาทักษะนักศึกษาทั้งด้าน Hard Skills และ Soft Skills โดยเฉพาะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญคือ GO Eco U.
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ถือเป็นแนวคิดขั้นพื้นฐานของการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข แบบพออยู่พอกิน และไม่เบียดเบียนผู้อื่น ทั้งยังเป็นแนวคิดที่จะนำไปสู่การพัฒนาคน สังคม เศรษฐกิจ และพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ดังนั้นในฐานะที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านการเกษตร และเป็นแหล่งผลิตบุคลากรออกสู่ภาคเกษตรกรรม จำนวนมาก จึงควรมีการน้อมนำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในการเรียนการสอนภายในมหาวิทยาลัยฯ ประกอบกับมหาวิทยาลัย มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ สถานที่และบุคลากรที่เอื้อต่อการพัฒนาและบริการวิชาการด้านการท่องเที่ยวทั้งทางทะเลและทางบก โดยที่มหาวิทยาลัยฯ มีพื้นที่ติดชายหาดระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร และมีอุปกรณ์ในการประกอบกิจกรรมการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุปกรณ์ดูนก เรือคายัค อุปกรณ์ดำน้ำตื้นและดำน้ำลึก เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ สาขาวิชาการท่องเที่ยวและบริการ จึงมีแนวคิดในการจัดตั้งบริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง) ขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันทางวิชาการด้านการท่องเที่ยวและบริการ และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร สอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและบริการ ทั้งนี้เพื่อน้อมนำแนวทางพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 มาส่งเสริมความรู้แก่สังคม ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม คณะทำงานจึงต้องการนำแนวคิดดังกล่าวเสนอผ่านรูปแบบการบริหารจัดการบริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง) เพื่อการบูรณาการความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ของบุคลากรประจำสาขาวิชาที่เปิดการเรียนการสอน รวมทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นแหล่งปฎิบัติงานด้านการท่องเที่ยวและการบริการ และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้แก่นักศึกษา บุคลากร และบุคคลทั่วไป ซึ่งคาดว่าประโยชน์เหล่านี้จะสามารถขยายผลสู่การนำกลับไปใช้ที่บ้าน และในชีวิตประจำวันเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ดังนั้นคณะทำงานโดยการดำเนินงานภายในรูปแบบบริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง) มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตั้งบริษัทนำเที่ยวเชิงเนิวศ (จำลอง) ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เป็นศูนย์กลาง และเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่นใกล้เคียง และเพื่อบูรณาการความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ของบุคลากรประจำสาขาวิชาที่เปิดการเรียนการสอน ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้สามารถร่วมกันพัฒนามหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ และฝึกทักษะในการปฎิบัติวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้แก่นิสิตและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และสถาบันอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อสร้างโอกาสทางด้านเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นในการสร้างงาน สร้างรายได้ และส่งเสริมการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ของประชาชนในชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบครบวงจรที่ยั่งยืนต่อไป โดยบูรณาการร่วมกันระหว่างรายวิชา11303001 หลักการท่องเที่ยวและบริการ 11303016 การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน 11303023 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว 11303004 จิตวิทยาบริการ เป็นต้น ดำเนินการภายใต้รูปแบบการฝึกปฏิบัติโดยการจัดการองค์กรด้านการบริการข้อมูลและประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว ควบคู่กับการนำเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งกำหนดบทปฎิบัติการดังนี้ 1) การจัดสภาพแวดล้อมองค์กรเพื่อบริการข้อมูลข่าวสารด้านการท่องเที่ยวและประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวภายในจังหวัดชุมพร 2) ออกแบบโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศพร้อมขาย 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวหลังจากใช้บริการบริษัทนำเที่ยว 4) ถอดบทเรียนการจัดนำเที่ยวในแต่ละครั้งเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และองค์ความรู้ให้กับนักศึกษาในกลุ่มอื่นๆ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อจัดตั้งบริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง) โดยมีมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เป็นศูนย์กลาง และเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่นใกล้เคียง
เพื่อพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ในการแข่งขันทางวิชาการด้านการท่องเที่ยว บริการ และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง
เพื่อบูรณาการความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ของบุคลากรประจำสาขาวิชาที่เปิดการเรียนการสอน ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้สามารถร่วมกันพัฒนามหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ และฝึกทักษะในการปฎิบัติวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว บริการ และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้แก่นิสิตและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร และสถาบันการศึกษาภายในเครือข่าย
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : บริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง) สาขาการท่องเที่ยวและบริการ
KPI 1 : จำนวนเส้นทางการท่องเที่ยวภายในอำเภอละแม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 เส้นทาง 2
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80
KPI 3 : จำนวนบริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 องค์กร 1
KPI 4 : จำนวนนักศึกษาที่ปฏิบัติการภายในบริษัทฯ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 คน 20
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : บริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง) สาขาการท่องเที่ยวและบริการ
ชื่อกิจกรรม :
จัดตั้งและการบริหารจัดการบริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/11/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ  รักษาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์  ทองสง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จุฑามาส  เพ็งโคนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวภายในอำเภอละแม

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/11/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ  รักษาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.จุฑามาส  เพ็งโคนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านการท่องเที่ยว บริการ และการสื่อความหมาย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 21/11/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนาจ  รักษาพล (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจมาศ  ณ ทองแก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วีรภรณ์  โตคีรี (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์  ทองสง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่ใช้งบประมาณ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
-
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
บริษัทจำลอง
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 11303023 กิจกรรมนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว 1. การใช้ทรัพยากรภายในมหาวิทยาลัย และเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนอำเภอละแม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ 2. การศึกษาดูงานและปฏิบัติการภายในพื้นที่เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 3. ออกแบบและนำเที่ยวภายในเส้นทางการท่องเที่ยวโดยชุมชนอำเภอละแม
ช่วงเวลา : 21/11/2567 - 31/08/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
งานบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการศึกษาดูงานและปฏิบัติการภายในพื้นที่เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ช่วงเวลา : 21/11/2567 - 31/08/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานบริการวิชาการแก่สังคม ด้านการศึกษาดูงานและปฏิบัติการภายในพื้นที่เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ช่วงเวลา : 21/11/2567 - 31/08/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ