22666 : โครงการบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชา 10503212 เศรษฐกิจพอเพียงกับการสหกรณ์กับการปลูกพืช
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก สังข์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 31/12/2567 22:34:44
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
08/01/2568  ถึง  22/01/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ 2568 0.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-1 ขยายฐานบัณฑิต ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักคิดวิเคราะห์ นักปฏิบัติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการที่มีฐานคิดด้านเศรษฐศาสตร์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.2 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาของหลักสูตร
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.2.1 พัฒนาและสนับสนุนนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-1.8 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-1.8.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดำเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสชี้แนะแก่พสกนิกร ชาวไทยมาโดยตลอดกว่า ๓๐ ปี และได้ทรงเน้นย้ำแนวทางพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ตลอดจน ใช้ความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต การป้องกันให้รอดพ้นจากวิกฤต และให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้นได้ ทางหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างมาก โดยได้กำหนดรายวิชา เศรษฐกิจพอเพียงกับการสหกรณ์ เพื่อให้นักศึกษาสาขาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ได้รับการศึกษาหลักปรัชญานี้อย่างถูกต้องตามหลักการทั้งในเชิงวิชาการและการนำไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและการสหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชา 10503212 เศรษฐกิจพอเพียงกับการสหกรณ์กับการปลูกพืช ขึ้นระหว่างวันที่ 8 และ 22 มกราคม พ.ศ.2568 ณ ศูนย์เรียนรู้ระบบเกษตรธรรมชาติ คณะเศรษฐศาสตร์ โดยกิจกรรมหลักประกอบด้วย 1.การเพาะเห็ดฟางในภาชนะเหลือใช้ และขั้นตอนการเพาะ และ 2.การปลูกผักไร้ดินจากวัสดุเหลือใช้ และขั้นตอนการปลูกผัก

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในระดับบุคคลและครอบครัวได้
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้การเพาะเห็ดฟางในภาชนะเหลือใช้ และการปลูกผักไร้ดินจากวัสดุเหลือใช้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียง
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ (50 คน)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการเพาะเห็ดฟางในภาชนะเหลือใช้และการปลูกผักไร้ดินจากวัสดุเหลือใช้
KPI 1 : นักศึกษาได้ปฎิบัติจริงในการเพาะเห็ดและปลูกผักไร้ดิน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรม/การให้ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการปลูกพืช

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 08/01/2568 - 08/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
ผลผลิต : นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะการเพาะเห็ดฟางในภาชนะเหลือใช้และการปลูกผักไร้ดินจากวัสดุเหลือใช้
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรม/การให้ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการปลูกพืช

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/01/2568 - 22/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก  สังข์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรม
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 0.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล