22645 : โครงการจัดทำดัชนีความเชื่อมั่นภาคการเกษตร ปี พ.ศ. 2568
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.เบญจวรรณ จันทร์แก้ว (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 20/11/2567 17:00:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2567  ถึง  30/03/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  1600  คน
รายละเอียด  เกษตรกรในกลุ่ม 6 สาขาอาชีพ ทั่วประเทศ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการตามแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย (มิติที่ 2)) 2568 20,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
น.ส. เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ดร. วีร์  พวงเพิกศึก
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยถูกขนานนามว่าเป็นประเทศ "เกษตรกรรม" ที่มีการเพาะปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะลักษณะของพื้นที่ประเทศไทยเป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสำหรับการทำการเกษตรกรรม ปัจจุบันสถานการณ์ภาคการเกษตรของประเทศไทยกำลังถูกท้าทายจากปัญหาหลายประการ เช่น ปัญหาด้านที่ดินทางการเกษตรถูกปรับเปลี่ยนไปใช้ประโยชน์ด้านอื่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ต้นทุนการผลิตทางการเกษตรสูง รวมถึงปัญหาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร โดยรัฐบาลปัจจุบันให้ความสำคัญในการมุ่งเน้น การยกระดับการทำเกษตรแบบดั้งเดิมเป็นแบบการเกษตรที่ทันสมัย ภายใต้แนวคิด "เกษตรนำ นวัตกรรมเสริม เพิ่มรายได้" ซึ่งเป็นการเพิ่มการนำเทคโนโลยีทางด้านการเกษตรมาใช้ในกาพัฒนาอาชีพทางการเกษตร แต่ยังคงสานต่อ 9 นโยบายที่สำคัญ ดังนี้ 1) เน้นการสร้างวิธีการทำงาน สู่การปฏิบัติ 2) เร่งรัดการจัดที่ดินทำกินให้แก่เกษตรกร 3) การบริหารจัดการน้ำ 4) การยกระดับสินค้าเกษตรและบริการมูลค่าสูง 5) ยกระดับศักยภาพของเกษตรกร/ สถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง 6) จัดการทรัพยากรทางเกษตร 7) การรับมือภัยธรรมชาติ 8) สานต่อการทำสงครามสินค้าเกษตรเถื่อน และ 9) อำนวยความสะดวกด้านการเกษตร โดยกระทรวงเกษตรฯ มุ่งให้เกิดการขับเคลื่อนการดำเนินนโยบายการพัฒนาด้านการเกษตรอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามในปัจจุบันการสถานการณ์ด้านการการเกษตรของประเทศไทย กำลังถูกท้าทายด้วยปัจจัยต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ รวมถึงการแข่งขันในภาคการเกษตรได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร จึงได้ดำเนินงานจัดทำโครงการจัดทำดัชนีความเชื่อมั่นภาคการเกษตร ปี พ.ศ. 2568 โดยดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2568 เพื่อสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลองค์ประกอบ (ตัวชี้วัด) และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นในการทำการเกษตร สำหรับจัดทำผลการวิเคราะห์ดัชนีความเชื่อมั่นภาคการเกษตร ของประเทศไทย และเผยแพร่ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไปได้ทราบถึงสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรคในการประกอบอาชีพทางการเกษตรของประเทศไทย เพื่อจะไปประกอบการพัฒนาและกำหนดนโยบายสนับสนุนและช่วยเหลือการพัฒนาทางการเกษตรต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ความเชื่อมั่นของเกษตรกร ต่อภาคการเกษตรของประเทศไทย
เพื่อเผยแพร่ผลการวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ในภาคการเกษตรของประเทศไทยให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : บทความผลการวิเคราะห์ดัชนีความเชื่อมั่นภาคการเกษตร
KPI 1 : บทความผลการวิเคราะห์ดัชนีความเชื่อมั่นภาคการเกษตร
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 บทความ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : บทความผลการวิเคราะห์ดัชนีความเชื่อมั่นภาคการเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
เก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามดัชนีชี้วัดความเชื่อมั่นภาคการเกษตร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 20/02/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามความเชื่อมั่นเกษตรกร จำนวน 1,600 ชุด ๆ ละ 12.50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่สามารถเข้าถึงเกษตรกรบางกลุ่มอาชีพได้ เช่น ปศุสัตว์ ประมงและไม้ยืนต้น เป็นต้น
เกษตรกรไม่สามารถคาดเดาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการทำการเกษตรได้ เช่น ข้อมูลสภาพอากาศ ราคาปัจจัยการผลิต
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ติดต่อประสานงานไปยังองค์กรของกลุ่มอาชีพเกษตรนั้นโดยตรง เช่น สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ สมาคมผู้เลี้ยงปลา กลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ต่างๆ
ให้ผู้เก็บรวบรวมแบบสอบถามให้ข้อมูลที่จำเป็นเบื้องต้น เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล