22600 : โครงการ Digital Skill Boost : ยกระดับทักษะดิจิทัลสำหรับนักศึกษา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
อาจารย์ณัฏฐพงษ์ สายพิณ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 3/12/2567 15:52:38
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
09/12/2567  ถึง  30/04/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  325  คน
รายละเอียด  นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา นศ 361 การสื่อสารกับโลกาภิวัตน์ จำนวน 173 คน, รายวิชา 10701303 การสื่อสารกับโลกาภิวัตน์ จำนวน 7 คน และรายวิชา 10701105 การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์ จำนวน 145 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 325 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะศิลปศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนการเรียนการสอน งานจัดการศึกษาสาขาศิลปศาสตร์ กองทุนเพื่อการศึกษา งบเงินอุดหนุน 2568 2,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ณัฏฐพงษ์  สายพิณ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลัดดา  จิตตคุตตานนท์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะศิลปศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านดิจิทัล
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ LA68 มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC):การผลิตบัณฑิต หลักสูตร และการพัฒนานักศึกษา
เป้าประสงค์ LA68-2.2 นักศึกษาได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัด LA68-2.1.11 ร้อยละของนักศึกษาที่ผ่านกระบวนการ พัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ LA68-2.2-4 ส่งเสริมให้จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยี ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

การสื่อสารเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างสำคัญยิ่งในการหล่อหลอมความเป็นมนุษย์และในการเผยแพร่ข่าวสารในบริบทต่าง ๆ ประกอบกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในสังคมปัจจุบันสะท้อนให้เห็นว่า มีผลกระทบที่เกิดจากการสื่อสารกับโลกาภิวัตน์ วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม การให้การศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารกับโลกาภิวัตน์และการเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์จึงมีความสำคัญต่อการเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษา ควบคู่กับทักษะทางด้านดิจิทัล การมีทักษะดิจิทัลที่ดีช่วยให้นักศึกษาสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัลได้ดีขึ้น และสามารถแข่งขันในตลาดแรงงานที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างนักสื่อสารที่มีทักษะทางดิจิทัล เป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือดิจิทัล เพื่อเข้าถึง จัดการ และประยุกต์ใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ต การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การสื่อสารผ่านช่องทางดิจิทัล และการสร้างสรรค์เนื้อหาดิจิทัลต่าง ๆ ทักษะเหล่านี้มีความสำคัญต่อการทำงาน การเรียนรู้ และการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน โครงการ Digital Skill Boost : ยกระดับทักษะดิจิทัลสำหรับนักศึกษานี้ เป็นการพัฒนานักศึกษาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ร่วมกับทักษะทางดิจิทัลในการสร้างสรรค์ผลงานด้านการสื่อสารและสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศได้อย่างเป็นระบบ ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีทางวัฒนธรรมศึกษาที่ใช้ในการสื่อสารกับโลกาภิวัฒน์ ผลกระทบของโลกาภิวัตน์ต่อการสื่อสาร วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งกระบวนการบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในการเขียนบทความ บทวิเคราะห์ หลักการสื่อข่าว การเขียนข่าว และสารคดีเชิงข่าว และฝึกปฏิบัติโดยการนําความคิดสร้างสรรค์มาใช้ในการเขียนเชิงสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์โดยคำนึงถึงจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวารสารศาสตร์ โดยมีการบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนรายวิชาของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ จำนวน 3 รายวิชา ได้แก่ นศ 361 การสื่อสารกับโลกาภิวัตน์, 10701303 การสื่อสารกับโลกาภิวัตน์ และ 10701105 การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับนักศึกษา
เพื่อบูรณาการการจัดการเรียนการสอนรายวิชาในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการที่เข้าร่วมโครงการ
KPI 1 : จำนวนนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการที่เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
ผลผลิต : นักศึกษาได้รับทักษะด้านดิจิทัล
KPI 1 : นักศึกษาได้รับทักษะด้านดิจิทัลผ่านเกณฑ์การวัดผล
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 ร้อยละ 60
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการที่เข้าร่วมโครงการ
ชื่อกิจกรรม :
อบรมการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิงเบื้องต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 11/12/2567 - 11/12/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ณัฏฐพงษ์  สายพิณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลัดดา  จิตตคุตตานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเทคนิคการใช้โปรแกรม Microsoft Word เบื้องต้น

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/01/2568 - 22/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ณัฏฐพงษ์  สายพิณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ชนัญชิดา  แก้วไชษา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
ชื่อกิจกรรม :
อบรมเทคนิคการใช้โปรแกรม Microsoft Word สำหรับการทำรายงานการวิจัย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/01/2568 - 29/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ณัฏฐพงษ์  สายพิณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลัดดา  จิตตคุตตานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ 8 คน คนละ 50 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน จำนวน 1 คน 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,600.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 2000.00
ผลผลิต : นักศึกษาได้รับทักษะด้านดิจิทัล
ชื่อกิจกรรม :
การประยุกต์ใช้ทักษะด้านดิจิทัลและการนำเสนอผลงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/02/2568 - 07/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ณัฏฐพงษ์  สายพิณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลัดดา  จิตตคุตตานนท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ชนัญชิดา  แก้วไชษา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รวมจำนวนเงินทั้งหมด
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
วันจัดกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลง
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ประสานงานกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและกำหนดยืนยันวันจัดกิจกรรม
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
โครงการ Digital Skill Boost : ยกระดับทักษะดิจิทัลสำหรับนักศึกษานี้ เป็นการพัฒนานักศึกษาให้เป็นพลเมืองโลกด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ร่วมกับทักษะทางดิจิทัลในการสร้างสรรค์ผลงานด้านการสื่อสารและสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา
ช่วงเวลา : 09/12/2567 - 30/04/2568
ตัวชี้วัด
2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต
การบูรณาการ
วัตถุประสงค์การบูรณาการผลการประเมินการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการ
เพื่อยกระดับทักษะดิจิทัลสำหรับนักศึกษา มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ร่วมกับทักษะทางดิจิทัลในการสร้างสรรค์ผลงานด้านการสื่อสารและสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นักศึกษา 80 การปรับปรุง มคอ.3, OBE3, มคอ.5, OBE5 และการประกันคุณภาพหลักสูตร
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
การตระหนัก รับรู้ เข้าใจ ธำรงรักษาและสืบสานศิลปวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรมทางศาสนา การอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมของวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น การบูชาเสาอินทขีล ตลอดจนวัฒนธรรมกระแสนิยมในระดับโลกและท้องถิ่น เช่น วัฒนธรรมทีป๊อป (T-POP)
ช่วงเวลา : 09/12/2567 - 30/04/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานวิจัย
งานวิจัยเรื่อง อัตลักษณ์และการเล่าเรื่องเพื่อประกอบสร้างวัฒนธรรม T-POP ของศิลปินไทยผ่านสื่อใหม่, การวิเคราะห์การสื่อสารเชิงวัฒนธรรมเพื่อการสืบทอดประเพณีบูชาอินทขิล, การวิเคราะห์การสื่อสารเชิงวัฒนธรรมเพื่อการผลิตซ้ําตํานานอินทขิล และอัตลักษณ์การท่องเที่ยวไทยในยุคโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษาตลาดน้ําดําเนินสะดวก อําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี นําไปสอนร่วมในหัวข้อ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างความเป็นโลก และความเป็นท้องถิ่นในการวิเคราะห์การสื่อสารโลกาภิวัตน์
ช่วงเวลา : 09/12/2567 - 30/04/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล