22582 : โครงการสาธิตการปลูกพืชผัก พืชไร่ และไม้ผลแบบประณีตพื้นที่ 10.5 ไร่ ในพื้นที่โครงการชั่งหัวมัน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์ พู่พัฒนศิลป์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/11/2567 11:09:15
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  500  คน
รายละเอียด  เกษตรกร ประชาชนทั่วไป และนักเรียนนักศึกษา
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบโครงการพัฒนาศักยภาพการเกษตรเชิงพื้นที่ 2568 1,100,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. ฐิระ  ทองเหลือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ  ศุภวิญญู
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
ว่าที่ ร.ต. ขจรรักษ์  พู่พัฒนศิลป์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดำริ เกิดขึ้นจากการใส่พระทัยของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ที่ทรงมีต่อเกษตรกรในพื้นที่ ในการจัดทำโครงการนำร่อง เพื่อเป็นตัวอย่างในการพัฒนาส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรมให้ประสบความสำเร็จ สามารถเลี้ยงดูตัวเอง และครอบครัวได้อย่างยั่งยืน โดยปี พ.ศ. 2552 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ซื้อที่ดินจากราษฎรที่บ้านหนองคอไก่ ตำบลเขากระปุก อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 250 ไร่ เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์รวมพืชเศรษฐกิจนานาชนิดในเขตจังหวัดเพชรบุรี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้สนองพระราชดำริ โดยการจัดทำแปลงสาธิตการปลูกพืชผัก พืชไร่ และไม้ผลแบบผสมผสาน ในพื้นที่ 10.5 ไร่ เพื่อให้เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่เข้ามาศึกษาดูงาน ได้นำรูปแบบไปปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากร ในพื้นที่ เช่น การปลูกพืชผัก พืชไร่ และไม้ผล จำนวน 7 โครงการ สำหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมทั้งแบบการปลูกพืชเชิงเดี่ยว และการปลูกพืชแบบผสมผสาน ซึ่งเกษตรกรตลอดจนประชาชนที่สนใจทั่วไปที่เข้ามาศึกษาดูงานแล้ว สามารถนำไปปรับใช้กับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมของตนเองตามความเหมาะสมต่อไป ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ได้กำหนด และจัดแบ่งพื้นที่ เพื่อกำหนดกิจกรรมการปลูกพืชดังนี้ คือ 1. พื้นที่ 1 ไร่ ปลูกพืชไร่ผสมผสาน คือ ถั่วเหลือง ข้าวโพดหวาน และมันเทศ 2. พื้นที่ 5 ไร่ ปลูกพืชผักผสมผสาน คือ ปลูกทั้งพืชผักอายุข้ามปี เช่น ผักเชียงดา ชะอม ถั่วพู จิงจูฉ่าย ผักกูด ส่วนพืชผักอายุสั้น ได้แก่ ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง คะน้า ผักบุ้ง แตงกวา พริก มะเขือเปราะ สลัดใบ ถั่วแขก บวบ มะระจีน ผักกาดขาว ผักโขม กล้วยน้ำว้า ฯลฯ 3. พื้นที่ 1 ไร่ ปลูกฝรั่งในระบบค้าง 4. พื้นที่ 1 ไร่ ลำไย 5. พื้นที่ 1 ไร่ ปลูกมะนาว เลม่อนในระบบค้าง และปลูกอะโวคาโดแทรกระหว่างแถวมะนาว 6. พื้นที่ 1 ไร่ ปลูกมะม่วงเพื่อการขยายพันธุ์ 7. พื้นที 0.5 ไร่ ปลูกองุ่นในโรงเรือนในระบบค้าง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริในการปลูกพืช ในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งแบบพืชเชิงเดี่ยวและพืชแบบผสมผสาน
เพื่อเป็นการสาธิตการปลูกพืชแบบประณีต ทั้งพืชผัก พืชไร่ ไม้ผล และการเลี้ยงผึ้งชันโรง แก่เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่เข้ามาศึกษาดูงาน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสมของพื้นที่ และความถนัดของตนเอง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ต้นแบบการปลูกพืชผัก พืชไร่ และไม้ผล
KPI 1 : แปลงสาธิตการปลูกพืชเชิงเดี่ยวและการปลูกพืชแบบผสมผสาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10.5 10.5 10.5 10.5 ไร่ 10.5
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 90 90 90 ร้อยละ 90
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 90 90 90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.241184 0.391184 0.236064 0.231568 ล้านบาท 1.1
KPI 5 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรที่รับบริการวิชาการ และวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 6 : แหล่งเรียนรู้ศึกษาดูงาน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 1 1 1 แหล่ง 1
KPI 7 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนชนิดพืชที่ปลูก
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
20 20 20 20 ชนิด 20
KPI 9 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
125 125 125 125 คน 500
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ต้นแบบการปลูกพืชผัก พืชไร่ และไม้ผล
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมดูแลรักษาแปลงไม้ผลหลายชนิด เช่น มะม่วง มะนาว ลำไย ฯลฯ พร้อมทั้งเก็บเกี่ยวผลผลิต การคัดเกรด และบรรจุหีบห่อผลผลิต

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.ฐิระ  ทองเหลือ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ว่าที่ ร.ต.ขจรรักษ์  พู่พัฒนศิลป์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาเจ้าหน้าที่ด้านควบคุม การผลิต ตัดแต่ง คัดบรรจุ จำหน่ายผลผลิต พืชผัก พืชไร่ และไม้ผล วุฒิ ป.ตรี
(1 คน x 12 เดือน x 27,000 บาท) เป็นเงิน 324,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
81,000.00 บาท 81,000.00 บาท 81,000.00 บาท 81,000.00 บาท 324,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการสนับสนุนงานด้านการเกษตร วุฒิ ป.ตรี ในการปฏิบัติงานคัดเกรด ตัดแต่ง ชั่งน้ำหนัก และบรรจุหีบห่อผลผลิตพืชผัก พืชไร่ และไม้ผล
(1 คน x 12 เดือน x 18,500 บาท) เป็นเงิน 222,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
55,500.00 บาท 55,500.00 บาท 55,500.00 บาท 55,500.00 บาท 222,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาบริการสนับสนุนงานด้านเกษตร ดูแลแปลงปลูกพืชผัก พืชไร่ และไม้ผลในพื้นที่ 10.5 ไร่ เช่น
พืชผัก (ผักคะน้า ผักบุ้งจีน พริก แตงกวา มะเขือเปราะ ถั่วพู ผักกาดกวางตุ้ง ถั่วฝักยาว หน่อไม้ฝรั่ง ดอกชมจันทร์ สลัดใบ ผักโขม พืชสมุนไพรจิงจูฉ่าย ฯลฯ)
พืชไร่ (ข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวโพดหวาน)
ไม้ผล (มัลเบอรี่ มะนาว ฝรั่ง องุ่น มะม่วง และกล้วย)
(3 คน x 12 เดือน x 10,000 บาท) เป็นเงิน 360,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
90,000.00 บาท 90,000.00 บาท 90,000.00 บาท 90,000.00 บาท 360,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ติดตามงาน
(3 คน x 2 วัน x 240 บาท x 4 ครั้ง) เป็นเงิน 5,760 บาท
(1 คน x 2 วัน x 240 บาท x 3 ครั้ง) เป็นเงิน 1,440 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
2,880.00 บาท 2,880.00 บาท 960.00 บาท 480.00 บาท 7,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าที่พักเหมาจ่าย
(3 คน x 1 คืน x 800 บาท x 4 ครั้ง) เป็นเงิน 9,600 บาท
(1 คน x 1 คืน x 800 บาท x 3 ครั้ง) เป็นเงิน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,800.00 บาท 4,800.00 บาท 1,600.00 บาท 800.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง
(3,216 บาท x 3 ครั้ง) เป็นเงิน 9,648 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,216.00 บาท 3,216.00 บาท 3,216.00 บาท 0.00 บาท 9,648.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์ เมล็ดพันธุ์พืช ฯลฯ เป็นเงิน 150,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 150,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 150,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุน้ำมันเชื้อเพลิง
(1 งาน x 3,788 บาท x 4 ครั้ง) เป็นเงิน 15,152
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,788.00 บาท 3,788.00 บาท 3,788.00 บาท 3,788.00 บาท 15,152.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1100000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล