22579 : การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารแทนนินจากใบและเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล พิมลรัตน์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 7/12/2567 14:05:01
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
19/11/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษา เกษตรกร บุคคลทั่วไป กลุ่มเกษตรกรฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และชาวบ้านที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบสนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ 2568 170,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรพิมล  พิมลรัตน์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชลดรงค์  ทองสง
อาจารย์ ปณิดา  กันถาด
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.3 โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อผลิตอาหารปลอดภัยตามแนวทาง Well-being @ Chumphon (ชุมพร)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.3.1 ขับเคลื่อนความเป็นอัตลักษณ์ของคณะให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อสร้างจุดแข็งให้เกิดขึ้นภายในองค์กร
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

อำเภอละแม เป็นอำเภอด้านทิศใต้สุดขนาดกลางของจังหวัดชุมพร ที่มีความเติบโตทั้งด้านเศรษฐกิจ การศึกษา และปริมาณประชากรเพิ่มขึ้นตามลำดับ พื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำสวนผลไม้ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน และทำการประมง เนื่องจากทางด้านตะวันออกเป็นชายฝั่งทะเล มีหาดทรายกว้างและยาว ปัจจุบันได้มีการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลบริเวณอำเภอละแม โดยพัฒนาโครงสร้างเพื่อทำให้เป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่สำคัญเช่น กุ้งทะเล เพรียงทราย และเป็นแหล่งการทำประมงชายฝั่งที่สำคัญ ทำให้เกิดการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจและชุมชน (ศูนย์ข้อมูลประเทศไทย, 2558) กล้วยหอมทอง เป็นพืชเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งที่เกษตรกรในจังหวัดชุมพรนิยมปลูก โดยในพื้นที่ของอำเภอละแมกลุ่มแม่บ้านตำบลทุ่งคาวัดได้นำกล้วยหอมทองมาแปรรูปเป็น “กล้วยหอมทองฉาบกรอบ” หลากหลายรสชาติจนเป็นสินค้ายอดนิยมและมีปริมาณความต้องการเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สามารถส่งออกขายในต่างประเทศได้ เกษตรกรจึงมีการเพิ่มปริมาณการผลิต ซึ่งสิ่งที่ตามมาคือปริมาณเปลือกกล้วย ซึ่งเป็นของเหลือและของเสียที่เกิดจากการผลิตได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีปริมาณถึงวันละ 90 กิโลกรัมต่อกล้วยดิบ 300 กิโลกรัม ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม เปลือกกล้วยดิบเป็นแหล่งของใยอาหารที่ดี โดยมีปริมาณใยอาหารสูงถึง 50 g/100 g (HappiEmaga et al., 2007) และมีสารฟีนอลเป็นองค์ประกอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแทนนิน ซึ่งเป็นสารพอลิฟีนอลที่มีโมเลกุลใหญ่ และโครงสร้างซับซ้อน เป็นสารให้ความฝาดและรสขม พบได้ในพืชหลายชนิด เช่น ใบชา ใบฝรั่ง ใบพลู ใบชุมเห็ด ใบหูกวาง ในผลไม้ดิบ เช่น เปลือกกล้วยดิบ เปลือกมังคุด สารแทนนินมีส่วนสำคัญในการเป็นสารตั้งต้นในปฏิกิริยาการเกิดสีน้ำตาลที่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ (enzymetic browning reaction) ของผลไม้ มีฤทธิ์เป็นสารกันเสีย (preservative) ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ นอกจากนี้สารกลุ่มแทนนินมีรายงานว่า สามารถช่วยปรับปรุงคุณภาพน้ำให้ค่าคุณภาพน้ำจากที่เคยต่ำกว่ามาตรฐานกลับมามีค่าสูงกว่าค่ามาตรฐานกำหนด (ค่าต่ำสุดที่สิ่งมีชีวิตจะดำรงชีวิตอยู่ได้) และช่วยลดปริมาณแบคทีเรียที่ปนเปื้อนในน้ำให้หมดไปภายใน 21 วัน ทั้งนี้จากผลการศึกษาของโครงการอพ.สธ. ประจำปี 2566 ที่ทางทีมวิจัยได้จัดทำฐานข้อมูลของปริมาณสารแทนนินจากส่วนต่างๆ ของกล้วยหอมทอง ทั้งจากลำต้น ใบ และเปลือกมาแล้วจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารแทนนินจากลำต้น ใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อให้สามารถเลือกสารแทนนินมาใช้ประโยชน์ในการลดแอมโมเนียในน้ำสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้อย่างเหมาะสมต่อการใช้ลดแอมโมเนียในน้ำโดยใช้ธรรมชาติบำบัดเพื่อลดปัญหาคุณภาพน้ำและสิ่งแวดล้อมต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารแทนนินจากใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
3. เพื่อส่งเสริมการจัดการส่วนที่เหลือทิ้งจากกล้วยหอมทองให้สามารถนำกลับมาสร้างรายได้ให้กับเกษตรได้อย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ฐานข้อมูลประสิทธิภาพของสารแทนนินจากใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
KPI 1 : จำนวนความเข้มข้นที่เหมาะสมของสารแทนนินต่อการใช้ลดแอมโมเนียในระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3 สภาวะ 3
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ฐานข้อมูลประสิทธิภาพของสารแทนนินจากลำต้น ใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชุด 1
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายตลอดทั้งโครงการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.17 ล้านบาท 0.17
KPI 7 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
ผลผลิต : ฐานข้อมูลประสิทธิภาพของสารแทนนินจากใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ฐานข้อมูลประสิทธิภาพของสารแทนนินจากใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 การศึกษาปัจจัยและความเข้มข้นที่เหมาะสมของสารแทนนินจากลำต้น ใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อวางแผน จัดเก็บ รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับจัดทำฐานข้อมูลประสิทธิภาพของสารแทนนินจากใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 19/11/2567 - 10/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาวางแผน จัดเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับจัดทำฐานข้อมูลประสิทธิภาพของสารแทนนินจากใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจำนวน 1 งาน ๆ ละ 40,000 บาท เป็นเงิน 40,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท 0.00 บาท 40,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 ปากกาเพอร์มาแนน เทปใส สมุดบันทึก ฯลฯ เป็นเงิน 13,210 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 13,210.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,210.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ อุปกรณ์บันทึกข้อมูล เม้าส์ ฯลฯ เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น น้ำยาล้างจาน ถุงขยะแบบหนา กะละมังสแตนเลส ถุงมือ กระดาษอเนกประสงค์แบบม้วน ฯลฯ เป็นเงิน 26,300 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 26,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 26,300.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น Yeast extract, Ammonium citrate, กระดาษกรอง GF/C dia. 47 mm.ฯลฯ เป็นเงิน 16,790 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 16,790.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 16,790.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น ท่อน้ำ ตาข่ายพรางแสง ผ้าใบพลาสติก ฯลฯ เป็นเงิน 50,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 50,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 50,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 156300.00
ผลผลิต : ฐานข้อมูลประสิทธิภาพของสารแทนนินจากใบ และเปลือกของกล้วยหอมทองต่อการลดปริมาณแอมโมเนียจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : ฝึกอบรมและบูรณาการการเรียนการสอน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรพิมล  พิมลรัตน์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,800.00 บาท 1,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 900.00 บาท 900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 13700.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การใช้สารสกัดจากธรรมชาติบำบัดน้ำเสียเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และการเรียนการสอนรายวิชาดังนี้ 11302191 การปฏิบัติงานฟาร์มประมง 1, พช351 โรคและการวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ, 11302211 คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง, 11302424 นวัตกรรมทางการประมงที่นำสมัย, 11302476 นวัตกรรมการเพิ่มมูลค่าทรัพยากรประมงเพื่อเศรษฐกิจ BCG
ช่วงเวลา : 01/12/2567 - 31/12/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล