22574 : โครงการความหลากชนิดของพรรณพืช และการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพไม้ใหญ่ในพื้นที่ฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.นิศานาถ มิตตะกัง (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/12/2567 9:17:48
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักศึกษาระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา จำนวน 80 คน นักวิจัย นักวิชาการ และผู้ใช้ประโยชน์จากป่า 20 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดินประจำปี 2568 คณะผลิตกรรมการเกษตร แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลักเผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โครงการความหลากชนิดของพรรณพืช และการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพไม้ใหญ่ในพื่้นที่ฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ 2568 170,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุธีระ  เหิมฮึก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิชญ์ภาส  สังพาลี
น.ส. นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า
น.ส. เบ็ญจา  บำรุงเมือง
น.ส. นิศานาถ  มิตตะกัง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการกำกับติดตามแบบบูรณาการ
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.2 สร้างผลงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่มีการบูรณาการศาสตร์ โดยใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.2.3 จำนวนครั้งในการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ 68 MJU 2.2.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเชิงบูรณาการ และผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ในทุกมิติ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 68 AP 2.2 สร้างผลงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่มีการบูรณาการศาสตร์ โดยใช้เกษตรเป็นรากฐาน และได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัด 68 AP 2.2.3 จำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์
กลยุทธ์ 68 AP 2.2.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเชิงบูรณาการและผลักดันผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยยังถูกจัดให้เป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรุนแรงเป็นลำดับที่ 10 ของโลก (Eckstein et al., 2019) จากรายงานข้างต้นจึงอาจสรุปได้ว่าประเทศไทยกำลังจะเผชิญกับผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่รุนแรงในอนาคต นอกจากนี้ IPCC (2017) ได้ประเมินความสามารถในการดูดซับคาร์บอนของป่าไม้ ว่าสามารถดูดซับคาร์บอนประมาณ 2.6 พันล้านตัน แต่หากป่าถูกทำลายหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ป่าจะทำให้เกิดการปลดปล่อยคาร์บอนประมาณ 1.6 พันล้านตัน ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการมีทรัพยากรป่าไม้ที่เพิ่มขึ้นเป็นวิธีการช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศได้ดี เนื่องจากป่าไม้ช่วยกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ไว้ในรูปของมวลชีวภาพ (Biomass) ในเนื้อไม้และส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้ เช่น ลำต้น กิ่ง ใบ และราก โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis) (Redondo-Brenes and Montagnini, 2006; Zhu et al., 2008) จากนั้นพืชจะนำมาเก็บไว้ในส่วนเหนือพื้นดิน (above-ground biomass) และใต้ดิน (below-ground biomass) ทำให้คาร์บอนถูกตรึงอยู่ในต้นไม้ได้นาน (Viriyabuncha, 2003) ประเทศไทยได้ลงนามต่ออนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2537 และลงนามให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2545 จากการให้สัตยาบันครั้งนั้นได้ส่งผลให้ประเทศไทยสามารถเข้าร่วมลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายใต้กลไกการพัฒนาที่สะอาด (clean development mechanism: CDM) และได้รับหนังสือรับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ (issuance of CERs) ซึ่งส่งผลให้สามารถนำคาร์บอนเครดิตไปทำการขายในตลาดคาร์บอนได้ โดยในปัจจุบันนี้สถานะของโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดในประเทศไทยมีจำนวน 66 โครงการที่ได้รับรองคาร์บอนเครดิต คิดเป็นปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ 14,170,000 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization), 2022) อย่างไรก็ตาม Office of the National Economic and Social Development Council (2017) ได้ให้ความสำคัญต่อมิติด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเรื่องของการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ดังปรากฎในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) รวมไปถึงการฟื้นฟูรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติและป่าไม้ จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ซึ่งได้กำหนดการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ร้อยละ 40 ของประเทศ กลับพบว่ายังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดในแผนพัฒนาฯ ปัญหาการลดลงของพื้นที่ป่าในปี 2563 พบว่าพื้นที่ป่าลดลงเหลือร้อยละ 31.64 ของพื้นที่ป่าทั้งประเทศ ดังนั้นการผลักดันในเรื่องของการเพิ่มพื้นที่ป่าตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจึงเป็นเรื่องสำคัญในการนำประเทศไทยไปสู่สังคมคาร์บอนต่ำ และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอนาคตดังแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ในปัจจุบัน การศึกษาในครั้งนี้ผู้ศึกษาได้เลือกพื้นที่ฟาร์มในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยการใช้พื้นที่แปลงถาวร (permanent plot) ขนาด 4 เฮกตาร์ หรือ 25 ไร่ ที่สุ่มวางแปลงไว้เพื่อตรวจสอบสภาพป่าของกรมป่าไม้ ทำการสำรวจความหลากชนิดของพรรณไม้ทุกวิสัยพืช ได้แก่ พืชล้มลุก พืชอิงอาศัย-กล้วยไม้ เถาวัลย์ ไม้พุ่ม ไม้ต้นทุกขนาด และทำการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในรูปมวลชีวภาพที่ระดับไม้ต้นขนาดใหญ่ต่อพื้นที่ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการตรวจวัดคาร์บอนในรูปของเนื้อไม้ การใช้ประโยชน์พรรณพืชที่มีในพื้นที่ในด้านต่าง ๆ ของนักวิจัย ชาวบ้าน และผู้ที่จะเข้ามาต่อยอดศึกษาเรียนรู้แบบเข้มข้นต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อศึกษาความหลากชนิดของพรรณไม้ทุกวิสัยในแปลงตัวอย่าง พื้นที่ฟาร์มในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อประเมินการกักเก็บคาร์บอนในรูปมวลชีวภาพของไม้ใหญ่ในพื้นที่ฟาร์มในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ความหลากหลายชนิดของพรรณพืช และการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพไม้ใหญ่
KPI 1 : บทความทางวิชาการในการประชุมวิชาการระดับชาติ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นฉบับ 1
KPI 2 : จำนวนชนิด พรรณไม้ใหญ่ในพื้นที่ฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ชนิด 50
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : หนังสือรวบรวมชนิดพรรณพืชในแปลงสำรวจ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เล่ม 1
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 7 : ปัญหาพิเศษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 8 : บทความทางวิชาการระดับฐาน TCI 1
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นฉบับ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ความหลากหลายชนิดของพรรณพืช และการประเมินการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพไม้ใหญ่
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 ศึกษาและสำรวจความเป็นไปได้
กิจกรรมที่ 2 การสำรวจ จำแนกชนิดพรรณไม้ทุกวิสัยในแปลงตัวอย่างและบันทึกการใช้ประโยชน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2568 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชญ์ภาส  สังพาลี (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นิศานาถ  มิตตะกัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสำรวจพื้นที่ป่าธรรมชาติ ตรวจวัดและจำแนกชนิดพรรณไม้ทุกวิสัยในแปลงสำรวจ ในพื้นที่ฟาร์มมหาวิทยาลัยแม่โจ้ (่จำนวน 1 คน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 35,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 35,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 92000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การตรวจวัดขนาดเส้นรอบวงและความสูงของไม้ขนาดใหญ่ในแปลงตัวอย่าง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/04/2568 - 31/07/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ  เหิมฮึก (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชญ์ภาส  สังพาลี (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นวลทิพย์  ชัยลิ้นฟ้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.เบ็ญจา  บำรุงเมือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.นิศานาถ  มิตตะกัง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาสนับสนุนงานในห้องปฏิบัติการ (จำนวน 2 คนๆ ละ 15,000 บาท)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท 0.00 บาท 30,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุเกษตร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 26,000.00 บาท 0.00 บาท 26,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุสำนักงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 78000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จากป่าไม้เป็นพื้นที่อื่นๆ
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ชนิดพรรณพืชป่า การเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจก จากกิจกรรมของมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ฤดูที่เปลี่ยนไป อุณหภูมิที่สูงขึ้น
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
รักษาระบบนิเวศป่าไม้ดั้งเดิม ทั้งป่าธรรมชาติและป่าในเมือง
เพิ่มพื้นที่สีเขียว ปลูกเสริมป่า
จัดการและใช้ประโยชน์ป่าไม้ให้ถูกต้อง
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล