22572 : โครงการการประเมินผลผลิตและลักษณะที่ดีทางการเกษตรของแตงไทยเพื่อบริโภคผลอ่อน
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
อาจารย์ ดร.แสงเดือน อินชนบท (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/12/2567 21:20:02
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  นักเรียน นักศึกษา เกษตรกร นักวิชาการภาครัฐและภาคเอกชน และผู้สนใจทั่วไป
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เงินงบประมาณแผ่นดิน คณะผลิตกรรมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2568 แผนงานพื้นฐาน แผนงานรอง แผนงานพื้้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรณ์มนุษย์ ผลผลิต ผลงานการให้บริการวิชาการ กิจกรรมหลัก เผยแพร่ความรู้งานบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์ แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนโครงการบริการวิชาการ (เงินอุดหนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช) โครงการประเมินผลผลิตและลักษณะที่ดีทางการเกษตรของแตงไทยเพื่อบริโภคผลอ่อน 2568 170,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. แสงเดือน  อินชนบท
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะผลิตกรรมการเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 AP 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 68 AP 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี ยั่งยืน รักษ์โลก ไร้โรค (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 AP 1.1.2 คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking ส่วนงาน : ความสำเร็จในการสนับสนุนมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนนโยบาย Green U และ Green Office
กลยุทธ์ 68 AP 1.1.2.1 ขับเคลื่อน และผลักดันการพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อให้ได้รับคะแนนการประเมิน Green University Ranking ทั้ง 7 ด้าน ให้สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

แตงไทยจัดอยู่ในพืชวงศ์แตง (Cucurbits) มีปลูกอยู่ในทั่วทุกภาคของประเทศไทยเป็นเวลานานจนมาถึงปัจจุบัน โดยสายพันธุ์ที่ปลูกทั่วไปเป็นพันธุ์ที่ผสมกันเองตามธรรมชาติ มีการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ค่อนข้างดีแต่มีลักษณะความแปรปรวนทางพันธุกรรมค่อนข้างสูงและมีความหลากหลายทางพันธุกรรมของสายพันธุ์เป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านรูปร่างของผล ลวดลายบนผล สีผิวผล เปลือกผล เนื้อผล สีเนื้อ สีไส้ เป็นต้น จุดเด่นแตงไทยที่ค่อนข้างดีคือเป็นพืชที่มีความทนทานต่อการเข้าทำลายของโรคและแมลงค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับแตงชนิดอื่นๆ มีคุณค่าทางอาหารหลายอย่าง ในแตงไทยหนึ่งผลอุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี ฟอสฟอรัส แคลเซียม ไฟเบอร์ และสารอาหารอีกหลายชนิดที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ช่วยส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกัน ดีต่อระบบย่อยอาหาร ให้ความชุ่มชื้นและดีต่อสุขภาพผิว ช่วยลดการอักเสบ สรรพคุณทางสมุนไพร ดอกและใบ แก้ไข แก้ดีซ่าน ผลเป็นยาระบาย ขับปัสสาวะ (ทัตพร,2565: หมอชาวบ้าน,2561) แตงไทยสามารถนำผลมาบริโภคได้ตั้งแต่ระยะเป็นผลขนาดเล็ก โดยใช้บริโภคผลสดเช่นเดียวกันกับผลแตงกวาซึ่งสามมารถใช้กับน้ำพริกหรือบางพื้นที่ใช้ในการประกอบอาหารคาวต่างๆ เช่น นำไปผัด แกงเผ็ด เป็นต้น แตงไทยผลอ่อนจะมีลักษณะเนื้อหนาและแน่นกว่าผลแตงกวา ทำให้สามารถมีอายุเก็บรักษาได้นานกว่าผลแตงกวา ปัจจุบันสายพันธุ์แตงไทยเพื่อการบริโภคผลอ่อนมีในปริมาณค่อนข้างน้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับสายพันธุ์แตงกวาซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งจากการรวบรวมพันธุ์แตงไทยพื้นเมืองในเขตพื้นที่ภาคเหนือที่ผ่านมาพบว่ามีลักษณะผลแตงไทยในบางพื้นที่เป็นที่น่าสนใจในการพัฒนาเป็นแตงไทยเพื่อใช้รับประทานผลอ่อนได้ นอกจากเป็นการช่วยอนุรักษ์และรักษาสายพันธุ์แตงไทยพื้นเมืองไม่ให้สูญหายไปจากท้องถิ่นแล้วยังเป็นการใช้ประโยชน์จากพันธุ์แตงไทยที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเป็นอย่างดี โดยในปีที่ผ่านมาทีมผู้วิจัยได้ทำการปลูกคัดเลือกพันธุ์ที่มีลักษณะปรากฏเหมาะสมสำหรับใช้รับประทานผลอ่อน โดยได้จำนวน 20 พันธุ์ (accessions) ที่เหมาะสำหรับนำมาทดสอบผลผลิตและลักษณะที่ดีทางการเกษตรอื่นๆ ดังนั้นในปี 2568 นี้ทางผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการนำแตงไทยที่ได้จากการคัดเลือกพันธุ์มาทดสอบผลผลิตและลักษณะที่ดีทางการเกษตรทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อให้ได้สายพันธุ์แตงไทยที่มีลักษณะที่ดีเหมาะสมต่อการนำไปใช้ในการบริโภคและเป็นที่ต้องการของตลาดผู้บริโภคเช่นเดียวกันกับแตงกวา นอกจากนี้เมล็ดพันธุ์แตงไทยผลอ่อนเกษตรกรยังสามารถขยายพันธุ์ได้เอง เนื่องจากมีความทนทานต่อการเข้าทำลายของศัตรูพืช ซึ่งจะสามารถช่วยลดการพึ่งพาเมล็ดพันธุ์จากร้านค้า ทำให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตสามารถช่วยลดรายจ่ายแต่ช่วยเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรได้อย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพื่อประเมินผลผลิตและคุณภาพของแตงไทยสำหรับบริโภคผลอ่อน
3. เพื่อการอนุรักษ์สายพันธุ์แตงไทยพื้นเมืองสำหรับใช้ประโยชน์ที่หลากหลายอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : แหล่งรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมของแตงไทย
KPI 1 : ร้อยละของงบประมาณที่ใช้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : องค์ความรู้เรื่องแตงไทยพันธุ์พื้นเมืองที่เหมาะสมสำหรับบริโภคผลอ่อน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 3 : องค์ความรู้เรื่องการปลูกแตงไทยผลอ่อนพันธุ์พื้นเมือง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 เรื่อง 1
KPI 4 : แหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมแตงไทย
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 แหล่ง 1
KPI 5 : ร้อยละของงานวิจัยที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของวิจัย
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : แหล่งรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมของแตงไทย
ชื่อกิจกรรม :
1. การจัดเตรียมเมล็ดพันธุ์ และการเตรียมพื้นที่ และปลูกเพื่อการทดสอบพันธุ์ ประเมินพันธุ์ และขยายพันธุ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร ได้แก่ ปุ๋ยอินทรีย์ แกลบ ปุ๋ยคอก สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดโรคและแมลง กากน้ำตาล ปุ๋ยน้ำหมักอินทรีย์ พลาสติกคลุมแปลง เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 164,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 164,900.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 164900.00
ชื่อกิจกรรม :
2. การประเมินผลผลิตและลักษณะที่ดีทางการเกษตรแตงไทยสำหรับการบริโภคผลอ่อน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/02/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.แสงเดือน  อินชนบท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน ได้แก่ ปากกา ดินสอ ยางลบ แฟ้ม กระดาษA4 ซองพลาสติก เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มี
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การปฏิบัติงานฟาร์ม / การผลิตผัก / การผลิตเมล็ดพันธุ์ / เกษตรเพื่อชีวิต
ช่วงเวลา : 02/12/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล