22536 : “ฟาร์มรัก-ฟาร์มเล็ก” การจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มเยาวชนชุมชนแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสาวณัจฉรียา ชัยประภา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 8/11/2567 13:56:32
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  กลุ่มเยาวชน นักเรียน นักศึกษา และชาวต่างชาติ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน วิทยาลัยนานาชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายแผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน งบประมาณประจำปี 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ดร. นิพล  เชื้อเมืองพาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร. จิระชัย  ยมเกิด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ระพีพันธ์  แดงตันกี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยนานาชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.2 การพัฒนาเทคโนโลยี และองค์ความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยตลอดเวลา ให้ศูนย์ความเป็นเลิศ อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร และฐานเรียนรู้ด้านเกษตร ร่วมสร้างองค์ความรู้ในวิทยาการหลากหลายสาขามาผสมผสานเป็น Cross Disciplinary Collaboration โดยมีเกษตรเป็นรากฐานเพื่อนำความรู้สู่สังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU-IC ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 68 MJU-IC เป้าประสงค์ 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด 68 MJU-IC 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU-IC ส่งเสริมและผลักดันผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกครัวเรือนด้านการเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหารตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อให้พี่น้องประชาชนได้มีผักที่ปลอดสารพิษ อาหารปลอดภัย เกิดสุขภาวะที่ดี และเป็นการลดรายจ่ายให้กับครัวเรือน รวมทั้งได้มีนโยบายในการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกฝังจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมดูแลสภาพอากาศเพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี โดยเริ่มจากเยาวชนในแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน การเกษตร ถือเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งในการเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร แต่เนื่องจากลักษณะชุมชนในเขตตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีลักษณะเป็นชุมชนกึ่งเมืองจึงต้องมีมีพื้นที่ใช้สอยในการทำการเกษตรอย่างจำกัดมากขึ้น วิทยาลัยนานาชาติ จึงมีแนวคิดการส่งเสริมการจัดการเกษตรในพื้นที่ขนาดเล็กเพื่อการใช้สอยพื้นที่ที่มีอย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียง ในการเพาะปลูกพืชผักตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพื่อการผลิตอาหารที่มีความสะอาด ปลอดภัย โดยมีแนวคิดการใช้ประโยชน์จากน้ำ ที่ดิน และแรงงานในครัวเรือนให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงการนำพลังงานทดแทนจากธรรมชาติมาช่วยลดค่าใช้จ่าย จะเป็นแหล่งอาหาร รายได้ และแหล่งการเรียนรู้ทั้งทางด้านการจัดการทรัพยากรที่มีให้เกิดประโยชน์ได้ จากการใช้พื้นที่เล็กๆ ตั้งแต่ 100 – 400 ตารางเมตร ตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ด้วยเหตุที่กล่าวข้างต้น วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงมีแนวคิดในการดำเนินการจัดทำโครงการ “ฟาร์มรัก-ฟาร์มเล็ก” การจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มเยาวชนชุมชนแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อส่งเสริมเยาวชนในการเรียนรู้การทำเกษตร เพิ่มผลิตภาพและการเข้าถึงทรัพยากรและโอกาสต่าง ๆ ของการทำเกษตรเพื่อการยังชีพ ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียงแก่กลุ่มเยาวชนชุมชนแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อสร้างต้นแบบ“ฟาร์มรัก-ฟาร์มเล็ก” การจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มเยาวชนชุมชนแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อสร้างรายได้ในการจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มเยาวชนชุมชนแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียงแก่กลุ่มเยาวชนชุมชนแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
KPI 1 : จำนวนต้นแบบ“ฟาร์มรัก-ฟาร์มเล็ก” การจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 4 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 7 : ยุวเกษตรต้นแบบเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 8 : รายได้ของเกษตรกรเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 10 : จำนวนองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 องค์ความรู้ 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียงแก่กลุ่มเยาวชนชุมชนแม่โจ้ ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัดด้วยฐานเศรษฐกิจพอเพียง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.นิพล  เชื้อเมืองพาน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 50 คนๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 50 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 1,600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
ภาคปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 1,600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา กระดาษ ฯลฯ เป็นเงิน 1,850 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,850.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,850.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20950.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดองค์ความรู้การใช้ทรัพยากรน้ำ พื้นที่ดินและพลังงานให้มีประโยชน์สูงสุดเพื่อการจัดการเกษตรบนพื้นที่จำกัด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.นิพล  เชื้อเมืองพาน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 50 คน ๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
ภาคบรรยาย จำนวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ 1,600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 8,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 17500.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 การสร้างต้นแบบ“ฟาร์มรัก-ฟาร์มเล็ก” และการส่งเสริมการตลาด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ ดร.นิพล  เชื้อเมืองพาน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 1 มื้อ 1วัน เป็นเงิน 1,750 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,750.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,750.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 1,600 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 6550.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล