22462 : โครงการสร้างสวนเห็ดป่าอย่างยั่งยืนในพื้นที่สวนป่าไม้เศรษฐกิจ
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 22/10/2567 11:09:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
22/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกร/ผู้สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2568 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร. ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ
อาจารย์ ศิริลักษณ์  สุขเจริญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธิติ  วานิชดิลกรัตน์
อาจารย์ อลิษา  อินจันทร์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68-2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68-2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

จากประสบการณ์การทำงานในพื้นที่โครงการวิจัยหลายเรื่องที่ผ่านมาพื้นที่ในภาคเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วยจังหวัด น่าน พะเยา เชียงราย และแพร่ พบว่า พื้นที่เกือบทุกชุมชนมีการดำเนินโครงการการปลูกป่าตามโครงการต่างๆ เพื่อการฟื้นฟูป่าในการสร้างพื้นที่สีเขียว ให้เป็นป่าไม้ที่ถูกทดแทนด้วยพืชเกษตรเพื่ออุตสาหกรรมมาตั้งแต่ยุคปฏิวัติเขียว คนกับป่ามีความเกื้อกูลกันมาช้านานแม้จะถูกเปลี่ยนไป จากเกษตรยังชีพเป็นเกษตรกรรมเพื่อผลิตเชิงอุตสาหกรรม วิถีชีวิตของเกษตรกรส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งพิงของป่า เช่น หน่อไม้ น้ำผึ้ง สมุนไพร ผักหวานป่า ไข่มดแดงและเห็ดป่า นอกจากเนื้อไม้จากไม้ยืนต้นแล้วของป่าเหล่านี้ยังมีมูลค่าสูง และตอบสนองเกษตรกรที่พึ่งพิงของป่าได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเห็ดป่าที่สามารถกินได้ เช่น เห็ดเผาะ (Astraeus hygrometricus) เห็ดระโงก (Amanita spp.) เห็ดตะไคล (Russula delica) เห็ดน้ำหมาก (Russula luteotacta) เห็ดน้ำแป้ง (Russula alboareolata) องค์ความรู้และเทคโนโลยีการใส่เชื้อเห็ดป่าไมคอร์ไรซาได้ดำเนินการมาในระยะหนึ่ง และสามารถต่อยอดถ่ายทอดสู่ชุมชน ควบคู่ไปกับชุมชนเพื่อการพัฒนาสวนป่าไม้มีค่า โดยเฉพาะการเลือกชนิดเห็ดป่าให้เหมาะสมกับไม้มีค่าวงศ์ยาง (Dipterocarpaceae) ซึ่งจะมียางนา (Dipterocarpus alatus) ซึ่งเป็นไม้ใน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นไม้ที่ปลูกในโรงการนี้ด้วย สำหรับเห็ดป่าที่กินได้ทางโครงการเลือกเทคนิควิธีการที่เกษตรกรสามารถใส่เชื้อได้โดยตรงลงในกล้าไม้ นอกจากเกษตรกรจะได้เนื้อไม้มีค่าในระยะที่สามารถตัดฟันได้แล้ว เกษตรกรยังสร้างสวนป่าเพาะเห็ดจะเป็นชุมชนต้นแบบสวนป่าไม้มีค่าและเห็ดป่ากินได้ในภาคเหนือไทย โดยผ่านกิจกรรมการวิจัยและฝึกอบรม ซึ่งชุมชนต้นแบบแห่งนี้ยังขาดองค์ความรู้ในการเก็บเมล็ดไม้ การเพาะกล้าไม้ การจัดการกล้าไม้ในเรือนเพาะชำ การปลูกและดูแลตามหลักวนวัฒน์ การติดตามการเจริญเติบโต ความมุ่งหวังหลังจากโครงการนี้สิ้นสุดในปีที่หนึ่งคือ ได้ชุมชนต้นแบบการปลูกไม้มีค่าและเพาะเห็ดป่ากินได้จำนวน 5 ราย รายละ 1 แปลง และจำนวนกล้าไม้ที่ปลูกจำนวนรวม 250 ต้น ชนิดไม้ที่เลือกในโครงการนี้ได้แก่ ยางนา ตะเคียนทอง รัง และพะยอม นอกจากนี้โครงการฯ ยังสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนความมั่นคงและปลอดภัยทางอาหารและการขจัดความอดอยากหิวโหย (Zero hunger) ที่กำหนดโดยองค์การสหประชาชาติ (United Nation : UN)

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยการอนุรักษ์ไม้ยางนาซึ่งเป็นชนิดไม้ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
2 เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูในพื้นที่ต้นน้ำภาคเหนือ (ต้นแบบหมู่บ้านในพื้นที่ในจังหวัดแพร่)
3 เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารและสร้างมูลค่าเพิ่มในพื้นที่โดยจัดทำสวนต้นแบบนำร่องให้กับเกษตรกรผู้ปลูกไม้เศรษฐกิจได้แก่ไม้วงศ์ยาง และไม้วงศ์มะขามป้อม ในพื้นที่จังหวัดแพร่
4 เพื่อการแสวงหารายได้ของเกษตรกรและองค์กร
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาความรู้/เทคนิคในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
KPI 1 : แปลงต้นแบบสาธิตสวนชาเมี่ยงและเห็ดป่ากินได้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
5 แปลง 5
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.001244 0.014304 0.024452 ล้านบาท 0.04
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนเกษตรกร และผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาความรู้/เทคนิคในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
ชื่อกิจกรรม :
1) การสร้างแปลงต้นแบบสาธิตการปลูกไม้เศรษฐกิจและหยอดเชื้อเห็ดป่ากินได้และการติดตามผลการเจริญเติบโต เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร จำนวน จำนวน 5 แปลงๆ ละ 50 ต้น รวม 250 ต้น ในจังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อลิษา  อินจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าชดเชยน้ำมันในการเดินทาง จำนวน 4 วัน ๆ ละ 1 คัน ๆ ละ 163 กิโลเมตร ๆ ละ 4 บาท เป็นเงิน 2,608 บาท
2. ค่าจ้างเหมาถางวัชพืชและดูแลแปลง จำนวน 5 แปลง ๆ 1 คน ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
3. ค่าจ้างเหมาใส่เชื้อเห็ดและดูแลกล้าไม้เศรษฐกิจพร้อมทั้งติดตามผลเจริญเติบโตของกล้าไม้เศรษฐกิจหลังหยอดเชื้อเห็ด จำนวน 400 ต้นๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท (ปลูกในพื้นที่ 250 ต้น เผื่อปลูกซ่อม 50 ต้น และ 100 ต้น สำหรับใช้ในกิจกรรมในภาคปฏิบัติในการอบรม)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
652.00 บาท 14,304.00 บาท 652.00 บาท 0.00 บาท 15,608.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น เห็ดเผาะ เห็ดระโงก และเห็ดตับเต่า เป็นเงิน 592 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
592.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 592.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16200.00
ชื่อกิจกรรม :
2) จัดเสวนาคืนองค์ความรู้และการติดตามผลการเจริญเติบโตของไม้เศรษฐกิจในแปลงต้นแบบโดยการมีส่วนร่วมกับเกษตรกร

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 22/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ธนากร  ลัทธิ์ถีระสุวรรณ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ศิริลักษณ์  สุขเจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติ  วานิชดิลกรัตน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อลิษา  อินจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคเสวนา (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 3 คน ๆ ละ 4 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 3,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 12,800.00 บาท 0.00 บาท 12,800.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23800.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
นักศึกษาปริญญาโท แผน ก 2 จำนวนปีละประมาณ 5 คน วิชาระเบียบวิธีวิจัย ปม 501 วิชาการจัดการระบบวนเกษตรบนพื้นที่สูง ปม 602 และ วิชาการฟื้นฟูภูมิทัศน์ป่าไม้ขั้นสูง ปม 521
ช่วงเวลา : 22/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล