22460 : “เพาะรักษ์ ปลูกผักอินทรีย์” เพื่อการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของชุมชนในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสาวณัจฉรียา ชัยประภา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 28/10/2567 16:04:05
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร กลุ่มชุมชน วิสาหกิจชุมชน และชาวต่างชาติ จำนวน 50 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน วิทยาลัยนานาชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายแผนงานบริการวิชาการแก่ชุมชน งบประมาณประจำปี 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร. จิระชัย  ยมเกิด
อาจารย์ ดร. วินิตรา  ลีละพัฒนา
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร. ระพีพันธ์  แดงตันกี
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยนานาชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.2 การพัฒนาเทคโนโลยี และองค์ความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยตลอดเวลา ให้ศูนย์ความเป็นเลิศ อุทยานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร และฐานเรียนรู้ด้านเกษตร ร่วมสร้างองค์ความรู้ในวิทยาการหลากหลายสาขามาผสมผสานเป็น Cross Disciplinary Collaboration โดยมีเกษตรเป็นรากฐานเพื่อนำความรู้สู่สังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU-IC ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 68 MJU-IC เป้าประสงค์ 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด 68 MJU-IC 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU-IC ส่งเสริมและผลักดันผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทย เป็นประเทศที่มีความสำคัญในด้านการผลิตและการค้าสินค้าเกษตรในระดับโลก ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก และความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้สินค้าเกษตรของประเทศไทยมีความหลากหลายมีคุณภาพดี เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ซึ่งในการพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร ให้มีคุณภาพและเป็นที่ต้องการมากขึ้น สามารถใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมต่าง ๆ มากมาย โดยหนึ่งในการเพิ่มมูลค่าและการรับประกันคุณภาพสินค้าที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ คือ การรับรองระบบการผลิตตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ การตรวจรับรองระบบการผลิตตามมาตรฐานต่าง ๆ เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้าที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในระดับโลก เนื่องจากเป็นแนวทางที่มีมาตรฐานและได้รับการยอมรับโดยทั่วไป สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงห่วงใยประชาชนการส่งเสริมอาชีพ มีความเป็นอยู่ที่ดีสามารถพัฒนาตนเองและชุมชนทําให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน โปรดเกล้า ฯ ให้ ส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนในถิ่นทุรกันดาร เพื่อให้มีรายได้เพิ่ม และสามารถเลี้ยงดูบุตรหลานให้มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีตั้งแต่ปีพ.ศ.2538 เป็นต้นมา โดยน้อมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานแก่พสกนิกรไทย ตั้งแต่ปีพ.ศ.2517 เป็นแนวทางการพัฒนา ด้วย จนถึงปัจจุบันโปรดเกล้าฯให้สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (สสท.) จัดทําโครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน เพื่อให้เกษตรกรเกิดการรวมกลุ่มและดําเนินชีวิตตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนร่วมมือกัน รู้จักช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกิดทักษะในการใช้กระบวนการกลุ่มแก้ไขปัญหาการดําเนินงานอันจะส่งผลให้สมาชิกของกลุ่ม มีความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้น สามารถพัฒนาตนเองและชุมชนทําให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีเป็นอยู่ระหว่างความเป็นเมืองและความเป็นชนบท ลักษณะทางกายภาพของชุมชนเป็นพื้นที่ราบลุ่มมีแหล่งน้ำทางการเกษตรอย่างอุดมสมบูรณ์ จึงประกอบอาชีพหลักคือ การเกษตร เช่น ทำสวนผัก ทำนา สวนผลไม้ โดยผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ พริก กระเพรา โหระพา และเห็ด เป็นต้น ซึ่งจากการวิเคราะห์ จุดแข็งและโอกาสของกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับปลอดภัย เนื่องจากมีการปลูกพืชผักในบริเวณชุมชนและบริเวณบ้านของเกษตรกรและผลผลิตตลอดทั้งปี มีการส่งผลผลิตขายทั้งในระดับการขายปลีกและส่ง ด้านการมีส่วนร่วม กลุ่มเกษตรกรมีความร่วมมือในการดำเนินการขับเคลื่อนด้านการทำการเกษตรกรอย่างเข้มแข็ง ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากผู้นำชุมชน ประธานชุมชน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีนโยบายที่เข้มแข็ง อย่างไรก็ตาม การทำการเกษตรและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชนนั้น ยังพบปัญหาและจุดอ่อน ในด้านการจัดการฟาร์มที่เป็นระบบ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ การปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มสารอาหารพืช และการผลิตปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมและปลอดภัย เพื่อลดต้นทุน และเพิ่มราคาผลผลิตด้านการตลาด รวมถึงกระบวนการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อควบคุมการทำงานในแปลงเกษตร จึงทำให้ไม่สามารถเพิ่มมูลค่าและห่วงโซ่คุณค่าได้ ทำให้เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน และไม่เป็นที่รู้จักของตลาดได้อย่างกว้างขวาง จากสภาพปัญหาและความต้องการของกลุ่มชุมชนเกษตรกร สอดคล้องกับนโยบายมหาวิทยาลัยที่มีพันธกิจหลักด้านการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับบริบท ตามแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2555 – 2569) และแผนบริหารมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระยะ 4 ปี ที่มียุทธศาสตร์หลัก คือ ยกระดับองค์ความรู้ ความสามารถด้านการเกษตรให้แก่ชุมชน สังคม ท้องถิ่นสู่ความยั่งยืนจึงเกิดความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ เทศบาลเมืองแม่โจ้ และองค์กรระดับเครือข่ายให้การรับรองระบบการผลิตแก่เกษตรกร ที่ต้องการพัฒนาคุณภาพสินค้า เพิ่มมูลค่าและสร้างความเชื่อมั่นในสินค้าของตนเอง ให้เกษตรกรมีศักยภาพในการผลิตและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตรได้ต่อไป ดังนั้น ในชุมชนจึงต้องมีการพัฒนาขับเคลื่อนกิจกรรมที่มีคุณค่าในกระบวนการทั้งหมด โดยมุ่งเน้นพืชผัก จุลินทรีย์และเห็ดเศรษฐกิจสำคัญ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยลดกิจกรรมที่ไม่สร้างมูลค่าเพิ่ม และเพิ่มกิจกรรมที่สร้างมูลค่าในกระบวนการทั้งหมด วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงมีแนวคิดในการดำเนินการจัดทำโครงการ“เพาะรักษ์ ปลูกผักอินทรีย์” เพื่อการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของชุมชนในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีการดำเนินการถ่ายทอดองค์ความรู้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ การพัฒนากระบวนการผลิตพืช จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจในท้องถิ่น การตรวจรับรองระบบการผลิตตามมาตรฐานอินทรีย์ เพื่อให้มีการรับรองการผลิตและบริโภคพืชผัก จุลินทรีย์และเห็ดเศรษฐกิจสำคัญของชุมชนท้องถิ่นให้เป็นเป้าหมาย ทางเลือกอาหารในอนาคตคได้อย่างยั่งยืน

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อพัฒนาถ่ายทอดพัฒนาองค์ความรู้มาตรฐานอินทรีย์เพื่อการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ด เศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของชุมชนในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและบริโภคพืชผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ของชุมชนในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อสร้างกลุ่มต้นแบบ“เพาะรักษ์ ปลูกผักอินทรีย์” เพื่อการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ด เศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของชุมชนในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อสร้างรายได้จากการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของชุมชนในเขตอำเภอ สันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : “เพาะรักษ์ ปลูกผักอินทรีย์” เพื่อการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของชุมชนในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
KPI 1 : จำนวนองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอด
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 องค์ความรู้ 2
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 3 : เกษตรกรต้นแบบที่มีการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เพิ่มขึ้นร้อยละ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : จำนวนพื้นที่ที่ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 พื้นที่ 1
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 8 : รายได้ของเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 11 : จำนวนต้นแบบ“เพาะรักษ์ ปลูกผักอินทรีย์” เพื่อการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : “เพาะรักษ์ ปลูกผักอินทรีย์” เพื่อการผลิตและบริโภคผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของชุมชนในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อกิจกรรม :
การฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์และกระบวนการการผลิตและบริโภคพืชผัก จุลินทรีย์ และเห็ดเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย  ยมเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วินิตรา  ลีละพัฒนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คนๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 1 วัน 1 ครั้ง เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน 1 ครั้ง เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 1,600 บาท 1 คน 1 วัน 1 ครั้ง เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมง ๆ ละ 1,600 บาท 1 คน 1 วัน 1 ครั้ง เป็นเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา ดินสอ กระดาษ เป็นเงิน 3,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 23700.00
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาส่งเสริมการตลาดเพื่อสร้างความอย่างยั่งยืนของชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย  ยมเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.วินิตรา  ลีละพัฒนา (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คนๆ ละ 120 บาท 1 มื้อ 1 วัน 1 ครั้ง เป็นเงิน 6,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 50 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน 1 ครั้ง เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
ภาคบรรยาย จำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 1,600 บาท 1 คน 1 วัน 1 ครั้ง เป็นเงิน 9,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 9,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา ดินสอ กระดาษ เป็นเงิน 2,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 2,200.00 บาท 0.00 บาท 2,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 21300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล