22452 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผักตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/10/2567 14:22:01
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
25/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  ประชาชนผู้สนใจ และนักศึกษา ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2568 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ วรวุฒิ  งามพิบูลเวท
อาจารย์ ดร. ประเจต  อำนาจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิรดี  เสียงสืบชาติ
อาจารย์ ดร. สุภารัตน์  อำนาจ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-1.การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68-1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68-1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตาม ประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เกษตรอินทรีย์เป็นระบบการผลิตที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม โดยหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่าง ๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชหรือสัตว์ที่เกิดจากการตัดต่อทางพันธุกรรมซึ่งอาจนำไปสู่การปนเปื้อนของระบบนิเวศ เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ ในการปรับปรุงบำรุงดิน เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรง สามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตนเอง ผลผลิตที่ได้จากระบบเกษตรอินทรีย์จึงปลอดจากสารพิษตกค้าง ทำให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค รวมทั้งไม่ทำลายสภาพแวดล้อมด้วย อนึ่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเพื่อเป็นแนวทางแก่ประชาชนให้การดำเนินชีวิตให้มีความพอเพียง พึ่งตนเองได้ ซึ่งจะทำให้การทำการเกษตรอินทรีย์มีความยั่งยืน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ส่งเสริมและสนับสนุนการเกษตรอินทรีย์มาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ยังจำกัดอยู่ในจังหวัดแพร่ เพื่อส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น สอดคล้องกับวาระแห่งชาติเกษตรอินทรีย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ซึ่งมีองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการทำเกษตรอินทรีย์ จึงเสนอโครงการบริการวิชาการ เพื่อส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ให้แพร่หลาย และพัฒนาการทำเกษตรอินทรีย์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีคุณภาพได้มาตรฐานสู่เกษตรมูลค่าสูงตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์
2 เพื่อให้เกษตรมีการเพาะปลูกพืชผักตามระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ เพื่อสร้างรายได้เสริมนอกเหนือจากการเพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว
3 เพื่อพัฒนาทักษะนักศึกษาในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรในการปลูกพืชผักตามมาตรฐานเกษตรปลอดภัยและอินทรีย์ เสริมสร้างความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร และการทำงานร่วมกัน เพื่อนำไปสู่การเป็นผู้ประกอบการที่มีความรู้ ความยืดหยุ่น และรับผิดชอบต่อสังคมในยุคดิจิทัล
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาอาชีพ/สร้างรายได้ ด้านการเกษตร (พืชผักปลอดภัยและอินทรีย์)
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรตาม ระบบเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ (ตามมแบบประเมินด้วยวิธีการ Google form /แบบฟอร์มสำเนา)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.02172 0.008436 0.008436 0.001408 ล้านบาท 0.04
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจแผนธุรกิจ และระบบตลาด (ตามมแบบประเมินด้วยวิธีการ Google form /แบบฟอร์มสำเนา)
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาอาชีพ/สร้างรายได้ ด้านการเกษตร (พืชผักปลอดภัยและอินทรีย์)
ชื่อกิจกรรม :
1) อบรมเรื่องความรู้เบื้องต้นทางด้านมาตรฐานเกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกพืชผักแบบครบวงจร พื้นที่ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ยุทธนา  เถิงล้อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเปรมชัย  สุทธคุณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 55 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 4,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 55 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,850 บาท
3. ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2x3.0 เมตร เป็นเงิน 540 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,790.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,790.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษเอสี่ กระดาษปรู๊ฟ ปากกา เป็นเงิน 1,000 บาท
2. ค่าวัสดุเกษตร เช่น หัวเชื้อไตรโคเดอร์มา แกลบดิบ แกลบดำ ฟางข้าว ขี้วัว ฯลฯ เป็นเงิน 10,912 บาท
3. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังพลาสติกมีฝา กะละมัง ถุงพลาสติก ฯลฯ เป็นเงิน 1,390 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
13,302.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,302.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22092.00
ชื่อกิจกรรม :
2) การถ่ายทอดเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรเพื่อการผลิตที่มีประสิทธิภาพ พื้นที่ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ยุทธนา  เถิงล้อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเปรมชัย  สุทธคุณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 55 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 4,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 55 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,850 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,250.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,250.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8250.00
ชื่อกิจกรรม :
3) แผนพัฒนาธุรกิจและระบบตลาด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ยุทธนา  เถิงล้อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเปรมชัย  สุทธคุณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 55 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 4,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 55 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,850 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,250.00 บาท 0.00 บาท 8,250.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8250.00
ชื่อกิจกรรม :
4) การติดตามให้คำปรึกษาและแนะนำ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 25/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์วรวุฒิ  งามพิบูลเวท (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์ ดร.ประเจต  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิรดี  เสียงสืบชาติ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กษมา  ถาอ้าย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ยุทธนา  เถิงล้อม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วิลาสินี  บุญธรรม (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.สุภารัตน์  อำนาจ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายเปรมชัย  สุทธคุณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางสุรัลชนา  มะโนเนือง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง ระยะทาง ไป-กลับ ศูนย์ประสานงานมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ฯ ถึง บ้านผาหมู ต.ร้องกวาง อ.ร้องกวาง จังหวัดแพร่ ระยะทาง 28 กิโลเมตร กิโลเมตรละ 4 บาท จำนวน 2 คัน จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 448 บาท
2. ค่าเบี้ยเลี้ยง จำนวน 2 วัน ๆ ละ 4 คน ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 960 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,408.00 บาท 1,408.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 1408.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 1120311 เกษตรป่าไม้เบื้องต้น รายวิชา 11203207 การจัดการด้านการเกษตร รายวิชา 11203213 การจัดการระบบเกษตรป่าไม้ แลรายวิชา 11203212 เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรเกษตรป่าไม้
ช่วงเวลา : 25/10/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล