22438 : โครงการพัฒนาทักษะการทำเกษตรในชุมชนเมืองกู่คำ ตำบลวัดเกตุ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นายยมนา ปานันท์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 21/10/2567 8:46:40
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
03/01/2568  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  ผู้รับบริการเป็นผู้สูงอายุที่ว่างงานและผู้ที่สนใจทั่วไป จำนวน 50 ราย
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะเศรษฐศาสตร์ หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน แผนงานบริการวิชาการแก่สังคม งานบริการวิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ งบเงินอุดหนุน หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป (ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4) 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
รองศาสตราจารย์ ดร. เกศสุดา  สิทธิสันติกุล
น.ส. เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะเศรษฐศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 65-69ECON 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 65-69ECON2-4 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชน ด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับ
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.1 งบประมาณบริการวิชาการจากแหล่งทุนภายนอก
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตัวชี้วัด 65-69ECON2-4.6 จำนวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
กลยุทธ์ 65-69ECON 2-4.6.2 สนับสนุนการให้บริการวิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ของคนไทยทุกช่วงวัยตลอดชีวิต ได้แก่ ช่วงตั้งครรภ์ ช่วงปฐมวัย ช่วงเรียน ช่วงวัยรุ่น ช่วงวัยแรงงาน และช่วงวัยผู้สูงอายุ อีกทั้งยังเน้นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพี่งตนเอง และการจัดการตนเองทั้งการแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงิน และอาชีพ ขณะที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570) มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ชุมชนเข้าถึงความมั่นคงทางอาหารโดยเน้นความปลอดภัย เพียงพอ ระบบสำรองอาหารที่หลากหลาย และการสร้างพื้นที่ต้นแบบของการสำรองอาหารชุมชน รวมทั้งให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนและเปิดโอกาสในการสร้างการเรียนรู้อย่างเนื่องเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาแห่งอนาคต ดังนั้นโครงการนี้จึงเน้นการส่งเสริมทักษะการทำเกษตรจึงเป็นการสร้างการเรียนรู้แบบหนึ่งที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาคนระดับชาติ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และพันธกิจของมหาวิทยาแม่โจ้ด้านการบริการวิชาการโดยเฉพาะการเผยแพร่ความรู้ด้านการเกษตรแก่ชุมชน อีกทั้งตัวกิจกรรมบริการวิชาการได้เชื่อมโยงกับโครงการพระราชดำริ เช่น โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ ให้ประชาชนผู้สูงอายุสามารถเลี้ยงชีพและมีความมั่นคงทางอาหาร สามารถพึงพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นั้นคือ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอประมาณ มีเหตุผล ผลการสำรวจความต้องการด้านการบริการวิชาการพบว่า ชุมชนกู่คำ ตำบลวัดเกตุ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินงานภายหลังจากที่ได้รับการส่งเสริมการทำเกษตรจากหน่วยงานต่างๆ อีกทั้งยังมีผู้สูงอายุที่ว่างงานและต้องการทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนสู่การเสริมสร้างเสริมความเข้มแข็งทางสังคมและจิตใจของตนเองจากเข้าร่วมกิจกรรม ผู้นำชุมชนและผู้สูงอายุจึงเห็นร่วมกันในการดำเนินกิจกรรมการเกษตรร่วมกับคนทุกวัยในชุมชนโดยเฉพาะเยาวชนคนรุ่นใหม่สำหรับเป็นอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภคในครัวเรือน แบ่งปันเพื่อนบ้าน และเป็นรายได้เสริมสำหรับผู้ที่ขาดรายได้ อีกทั้งยังเป็นการสร้างสัมพันธภาพและการเรียนรู้ซึ่งกันและกันระหว่างสมาชิกในชุมชนผ่านกิจกรรมการเกษตร ทั้งนี้ชุมชนกู่คำตั้งอยู่ในใจกลางเมืองเชียงใหม่ภายใต้การปกครองของประธานชุมชน มีประชากรประมาณ 2,264 คน มีผู้สูงอายุประมาณ 1,258 คน มีวัด 1 แห่งเป็นศูนย์รวมใจ และมีโรงเรียน 1 แห่งระดับชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษา ผู้คนดำรงชีพตามวิถีคนเมือง การจราจรค่อนข้างหนาแน่น บ้านเรือนอยู่ค่อนข้างชิดติดกัน มีร้านค้าและอาคารมากมายสำหรับการประกอบธุรกิจ มีความเหลื่อมล้ำรายได้ระหว่างคนจนและคนรวยค่อนข้างสูง ประมาณ 362 คนเป็นคนจนที่ต้องประกอบอาชีพรับจ้าง หาเช้ากินค่ำ ด้วยเหตุนี้จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเพิ่มทักษะด้านการเกษตรของผู้สูงอายุและสมาชิกในครัวเรือน ซึ่งจะนำไปสู่การลดรายจ่ายและการเพิ่มการเข้าถึงอาหารในระดับครัวเรือน ตลอดจนเป็นการเสริมสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรร่วมกันระหว่างผู้สูงอายุและคนหลายช่วงวัยในชุมชน กิจกรรมดำเนินงานมุ่งเน้นการจัดอบรมให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการปลูกพืชผักให้เป็นแหล่งอาหารของสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งการทำปุ๋ยชีวภาพเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคพืชผักที่เพาะปลูก นอกจากนี้ผลการดำเนินงานยังเป็นประโยชน์ในแง่การขยายผลความรู้ด้านการเกษตรระหว่างผู้สูงอายุกับสมาชิกในชุมชน และเกิดการรื้อฟื้นกิจกรรมการเกษตร และวัฒนธรรมการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนผลผลิตจากการเกษตรระหว่างครัวเรือน รวมไปถึงผลกระทบในด้านเศรษฐกิจจากการนำผลผลิตไปจัดจำหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ความรู้และพัฒนาทักษะการทำการเกษตรแก่ผู้สูงอายุและสมาชิกชุมชนกู่คำ ตำบลวัดเกตุ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อลดรายจ่ายด้านอาหารจากการบริโภคผลผลิตที่ได้จากการลงมือปฏิบัติการด้านการเกษตร และเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันด้านการเกษตรในชุมชนกู่คำ ตำบลวัดเกตุ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : องค์ความรู้และทักษะทางด้านการทำเกษตร
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ค่าใช้จ่ายตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 3 : ่ผู้เข้ารับบริการอบรมนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติจริง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : รายจ่ายด้านอาหารของผู้เข้ารับการอบรมลดลง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการทีมีความรู้เพ่ิมขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำเกษตรเพื่อบริโภคในครัวเรือน
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 ราย 50
KPI 8 : ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : องค์ความรู้และทักษะทางด้านการทำเกษตร
ชื่อกิจกรรม :
การปลูกผักในระบบไฮโดรโปนิกส์ในครัวเรือน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 03/01/2568 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายยมนา  ปานันท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ.1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ ละ 40 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่ารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
วัสดุเกษตร เช่น กล่องโฟม ปุ๋ย A,B , กล้าผัก , อินทรีย์มิเตอร์,ถ้วยปลูกผัก
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยายและปฏิบัติ จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 800 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุง แปลง น้ำยาล้างจาน ถุงดำ ฟองน้ำ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22600.00
ชื่อกิจกรรม :
การอบรมการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ภายในครัวเรือน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 02/06/2568 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายยมนา  ปานันท์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.เบญจวรรณ  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายเอกพันธ์  กูนโน (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ.1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,500.00 บาท 4,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 30 คน ๆ ละ 40 บาท 2 มื้อ 1 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,400.00 บาท 2,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าเช่ารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,500.00 บาท 2,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยายและปฏิบัติ จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 800 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร ปฏิบัติ จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 1,200.00 บาท 1,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงดำ ถังขยะ ตะกร้า ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,000.00 บาท 3,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ขี้วัว กระสอบ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท 4,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 22400.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล