22425 : โครงการ "ยกระดับมาตรฐานสินค้าสัตว์น้ำแปรรูปเพื่อสร้างอาชีพที่ยั่งยืนแก่ชุมชน"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นายกฤษฎิ์ พลไทย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 24/10/2567 16:53:12
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
24/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  25  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย กฤษฎิ์  พลไทย
น.ส. ฐิตาภรณ์  ปิโม
น.ส. ศุจินธร  รัตนิพนธ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

เนื่องด้วยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดชุมพร ซึ่งจัดอยู่ในเขตเศรษฐกิจสำคัญของประเทศในด้านเกษตรกรรมและการท่องเที่ยว ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์และปลูกพืชยืนต้น สภาพคล่องด้านเศรษฐกิจโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง แต่ขณะเดียวกันในระดับท้องถิ่นเกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อยยังคงขาดโอกาสในการเข้าถึงนวัตกรรมใหม่ๆ และแหล่งทุน ตลอดจนความรู้และทักษะในการแข่งขันด้านการตลาด และการพัฒนาคุณภาพผลผลิตให้เกิดมูลค่าเพิ่มเพื่อให้เกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริง โดยเฉพาะในเรื่องของการผลิตสัตว์น้ำทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม ทั้งที่โดยสภาพภูมิประเทศเขตจังหวัดต้นๆ ของภาคใต้ ประเทศไทย ล้วนอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรและโอกาสค่อนข้างสูงมาก แต่จะเห็นได้ว่าผู้ประกอบการรายย่อยและเกษตรกรที่สามารถผ่านการแข่งขันด้านการตลาดระดับมีแบรนด์สินค้าจนเป็นธุรกิจชั้นนำแบบยั่งยืนมีค่อนข้างน้อยมาก อันเนื่องด้วยปัจจัยกีดขวางหลายสิ่งที่ทำให้เกษตรกรต้องตกอยู่ในสภาพผู้ผลิตที่ขาดทุน หรือเพียงแค่คุ้มทุนตลอดมา ทั้งนี้โดยตัวผู้ดำเนินการโครงการและมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร ได้พยายามศึกษาปัญหา ให้ความช่วยเหลือ พัฒนาขับเคลื่อนและบ่มเพาะประสบการณ์มายาวนานเกิน 10 ปี เพื่อได้มีโอกาสผลักดันขับเคลื่อนอาชีพธุรกิจด้านสัตว์น้ำให้แก่ชุมชนอย่างถูกทิศทางและยั่งยืน เพื่อให้เกษตรกรและผู้ประกอบการรายย่อยมีที่พึ่งจนเข้มแข็ง ยืนหยัดต่อไปในโลกธุรกิจ ครอบครัวอยู่ดีกินดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งนี้จากการศึกษาวิเคราะห์ในทุกๆ ด้าน โดยบูรณาการตามแนวพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับสภาวะการณ์แข่งขันด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน จึงได้พบหลักสำคัญๆ คือ (1) การแปรรูปสัตว์น้ำ ผลิตภัณฑ์น้ำพริกแห้งเนื้อปลานิล เนื้อปลาดุก ตลอดจนการเปิดร้านจำหน่ายแบบออฟไลน์และออนไลน์ ส่งเสริมการขายภายใต้แบรนด์สินค้าชุมชนร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร เพื่อสร้าง อัตลักษณ์ความเชื่อมั่นในคุณภาพแก่ผู้บริโภค

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อยกระดับสินค้าสัตว์น้ำจืด ตลอดจนช่องทางการแข่งขันทางการตลาดให้เกิดอาชีพที่ยั่งยืน แก่ชุมชน ด้วยวิธีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเนื้อปลา
2 เพื่อพัฒนาแบรนด์สินค้าที่มีคุณภาพ สร้างอัตลักษณ์แก่ชุมชนและมหาวิทยาลัย กระทั่งนำไปสู่การเกิดรายได้ที่ยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมการขายแบบออนไลน์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์จากเนื้อปลาที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพ มีบรรจุภัณฑ์และแบรนด์สินค้าที่ทันสมัย
KPI 1 : จำนวนผู้รับบริการ (ผู้มีความสามารถเฉพาะทาง)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
25 คน 25
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 4 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ชนิด 2
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
45000 บาท 45000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผลิตภัณฑ์จากเนื้อปลาที่ได้รับการพัฒนาคุณภาพ มีบรรจุภัณฑ์และแบรนด์สินค้าที่ทันสมัย
ชื่อกิจกรรม :
1 การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำพริกแห้งจากเนื้อปลา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกฤษฎิ์  พลไทย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ฐิตาภรณ์  ปิโม (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศุจินธร  รัตนิพนธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 27 คน ๆ 1 วันๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 27 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,890 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 4,590.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,590.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น เนื้อปลาดุก, เนื้อปลานิล, มีด, เขียง, กะละมัง, เครื่องปรุง ฯลฯ เป็นเงิน 8,820 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,820.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,820.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 19410.00
ชื่อกิจกรรม :
2 การพัฒนาตลาดออนไลน์และออฟไลน์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 24/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายกฤษฎิ์  พลไทย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ฐิตาภรณ์  ปิโม (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศุจินธร  รัตนิพนธ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 27 คน ๆ 1 วันๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 27 คนๆ ละ 1 วันๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,890 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำบรรจุภัณฑ์พร้อมโลโก้ผลิตภัณฑ์ เป็นเงิน 10,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำระบบตลาดออนไลน์พร้อมโปรโมทสินค้า เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 19,590.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 19,590.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 1,200 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 25590.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1.สภาพภูมิอากาศช่วงมรสุม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1.เตรียมสถานที่สำรอง 2-3 ที่
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล