22420 : โครงการ "การฝึกอบรมการปลูกพืชอินทรีย์และพืชปลอดภัยต้นทุนต่ำเพื่อการค้า"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
อาจารย์ปณิดา กันถาด (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 29/10/2567 13:49:00
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกรและผู้สนใจ ในพื้นที่ตำบลละแม อ.ละแม และพื้นที่ใกล้เคียงทั้งภายในจังหวัดชุมพรและสุราษฏร์ธานี
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการงบประมาณบริการวิชาการปี 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ ปณิดา  กันถาด
นาย รังสิวุฒิ  สิงห์คำ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดียั่งยืน รักษ์โลก ไร้โรค (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 1.1.4 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 1.1.4.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมรวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการการฝึกอบรมการปลูกพืชอินทรีย์และพืชปลอดภัยต้นทุนต่ำเพื่อการค้า เป็นโครงการที่ถูกสร้างเพื่อพัฒนาเกษตรกรและผู้ปลูกพืชรวมไปถึงผู้ที่มีความสนใจในการปลูกพืชเพื่อประสงค์ในการทำการค้าและการบริโภคในครัวเรือนโดยโครงการจะเน้นไปที่พืชที่มีมูลค่าสูงได้แก่ บัตเตอร์นัท สุกินนี และหน่อไม้ฝรั่ง ซึ่งเป็นพืชที่มีมูลค่าสูงและเป็นพืชที่ต้องนำเข้าจากต่างพื้นที่จึงทำให้มีราคาแพงเป็นพืชที่มีความต้องการในพื้นที่สูง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีการท่องเที่ยวและร้านอาหารโรงแรมจึงมองเห็นถึงโอกาสที่เกษตรกรจะมีการพัฒนาการปลูกพืชที่มีอยู่ให้กลายเป็นพืชอินทรีย์และพืชปลอดภัยแต่อันเนื่องมาจากต้นทุนในการผลิตพืชอินทรีย์และพืชปลอดภัยมีราคาที่สูงจึงทำให้เกษตรกรรายรายไม่ประสบความสำเร็จในการผลิตพืชดังกล่าว ทางคณะผู้จัดทำโครงการจึงได้ออกแบบการผลิตพืชอินทรีย์และปลอดภัยที่มีต้นทุนต่ำเกษตรกรและผู้สนใจสามารถนำไปปลูกและปฏิบัติได้โดยใช้วัสดุในท้องถิ่น โดยคณะผู้จัดทำโครงการได้น้อมรับโครงการพระราชดำริซึ่งมีแนวทางในการปฏิบัติเรื่องความยั่งยืนทางภาคการเกษตรเพื่อให้เกษตรกรได้มีทางเลือกในการผลิตพืชที่มีความยั่งยืนและมีความปลอดภัยทั้งใช้ในการบริโภคในครัวเรือนและการค้าทั้งนี้ยังมีพืชที่เป็นพืชที่มีปริมาณการใช้สูงมากในท้องถิ่นก็คือผักสลัดแม้จะไม่ใช่พืชที่มีต้นกำเนิดในท้องถิ่นเขตภาคใต้แต่ก็มีปริมาณการใช้ที่สูงมากเนื่องจากเป็นพื้นที่ในเขตการท่องเที่ยวดังนั้นเกษตรกรจึงมีแนวทางในการประกอบอาชีพเพิ่มเติมทำให้เกิดความยั่งยืนในชุมชนในท้องถิ่นและทำให้ชีวิตของเกษตรกรมีรายได้ที่เพิ่มมากขึ้นซึ่งหมายถึงความยั่งยืนของท้องถิ่นนั่นเอง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อฝึกอบรมการปลูกพืชอินทรีย์และพืชปลอดภัยต้นทุนต่ำเพื่อการค้าให้กับเกษตรกรและผู้สนใจ ในสาขาวิชาชีพต่างๆ
2.เพื่อเพิ่มความมั่นคงทางด้านอาหารให้กับเกษตรกร
3. เพื่อสร้างระบบการสร้างจากการผลิตพืชรายได้ที่ยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การจัดอบรมการปลูกผักมูลค่าสูงแบบปลอดภัยและอินทรีย์
KPI 1 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมรในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : - จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ต้นแบบต้นแบบการปลูกพืชปลอดภัยและพืชอินทรีย์ต้นทุนต่ำ แบบครบวงจร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ต้นแบบ 1
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจาการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 7 : ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้ารับการอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าอบรม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.0301 0.0149 ล้านบาท 0.045
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การจัดอบรมการปลูกผักมูลค่าสูงแบบปลอดภัยและอินทรีย์
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : การเตรียมแปลงสาธิตพืชอินทรีย์และพืชปลอดภัยต้นทุนต่ำเพื่อการค้า

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/11/2567 - 26/11/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปณิดา  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน
จำนวน ...4........ คนๆ ละ ..200.... บาท ...5....... วัน.......1...........ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
4,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 4,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ,แฟ้มเก็บข้อมูล,ปากกา และ ค่าถ่ายเอกสาร เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น .หมึกปริ้นเตอร์..เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
3,100.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น .มูลวัว มูลไก่ ขุยมะพร้าว ถาดหลุมเพาะกล้า เป็นต้น.
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
10,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 10,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุก่อสร้าง เช่น เสาปูนค้างผัก เหล็กแป๊บขนาด 2 นิ้ว 1.5 นิ้ว 1 นิ้ว และ 6 หุน เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
6,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 30100.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 การดำเนินการอบรม ทำการอบรมให้กับผู้ที่มีความสนใจ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 26/11/2567 - 26/11/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์ปณิดา  กันถาด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (เจ้าหน้าที่และผู้เข้าอบรม)
จำนวน ..50... คนๆ ละ ..100 บาท ....1. มื้อ ...1.... ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)จำนวน ...50.. คนๆ ละ ..35... บาท ..2..... มื้อ ....1.... ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน ....4....... ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท ....1...... คน ......1.... ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติจำนวน ....4....... ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท .....1..... คน .....1.... ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14900.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
1.การได้งบประมาณล่าช้าอาจทำให้เกิดการเตรียมพื้นที่ไม่ทัน -สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย
2.การเตรียมแปลงสาธิตไม่พร้อมการฝึกอบรม
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
1.อาจต้องใช้งบประมาณส่วนตัวบางส่วนก่อนเพื่อไม่ให้เกิดความล่าช้า -เตรียมแผนสำรอง
2.ลดความเสี่ยงเพื่อให้แปลงสาธิตทำได้ตามกำหนดเวลา
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
หัวข้อการจัดระบบฟาร์มเพื่อการค้า รายวิชาทพ 331 ระบบการทำฟาร์มและการจัดการฟาร์มเชิงการค้า
ช่วงเวลา : 01/10/2567 - 31/03/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล