22419 : โครงการ "การใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) เพื่อยกระดับการเพาะเลี้ยงปลากระพงขาวคุณภาพสูงตามแนวทาง BCG"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา สว่างอารมย์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 23/10/2567 11:19:00
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  กลุ่มผู้เลี้ยงปลา ในพื้นที่อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ พ.ศ. 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธนา  สว่างอารมย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ  ศุภวิญญู
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.7 ความสำเร็จของการดำเนินงานด้านเกษตรอัจฉริยะ (Intelligent Agriculture)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.7.1 พัฒนาแผนแม่บทเกษตรอัจฉริยะมหาวิทยาลัยแม่โจ้
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดียั่งยืน รักษ์โลก ไร้โรค (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 1.1.4 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 1.1.4.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรมรวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.3 โครงการศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิจัยและบริการวิชาการเพื่อผลิตอาหารปลอดภัยตามแนวทาง Well-being @ Chumphon (ชุมพร)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.3.1 ขับเคลื่อนความเป็นอัตลักษณ์ของคณะให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อสร้างจุดแข็งให้เกิดขึ้นภายในองค์กร
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยมีความยาวชายฝั่งทะเลอ่าวไทยยาวถึง 2,055.18 กิโลเมตร โดยจังหวัดชุมพรมีชายฝั่งทะเลยาวที่สุดตั้งแต่ อำเภอปะทิว ถึง อำเภอละแมยาวถึง 248.33 กิโลเมตร หรือคิดเป็น 12.08 เปอร์เซ็นต์ของความยาว จึงเป็นโอกาสสำคัญที่จังหวัดชุมพรจะพัฒนาการเลี้ยงปลากะพงขาวให้มีคุณภาพสูงที่มีชื่อเสียงชั้นนำของประเทศเพื่อเตรียมความพร้อมต่อแผนพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้อย่างยั่งยืนที่มียุทธศาสตร์หนึ่งที่จะมีการพัฒนาการท่องเที่ยวในด้านต่างๆ เช่น โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างอ่าวไทย-อันดามัน โครงการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวทางทะเลกับพื้นที่ตอนใน โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวทางทะเลเพื่อรองรับเรือท่องเที่ยวขนาดใหญ่ และโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว อีกทางหนึ่ง โดยสาขานวัตกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ก็เป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีความเชี่ยวชาญและความเป็นเลิศทางด้านการเกษตรในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน อีกทั้งยังมีนโนบายที่ผลักดันเพื่อพัฒนาบุคลากรให้เชี่ยวชาญพร้อมผลิตงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) ที่ควบคุมปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความถี่และปริมาณอาหารที่ให้โดยคำนวณจากน้ำหนักปลาเพื่อให้อาหารได้เหมาะสมและพอดี และการควบคุมคุณภาพน้ำภายในบ่อ เป็นต้น ที่ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการที่มีการบูรณาการเทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสมเข้าด้วยกัน พร้อมนำมาขยายผลเพื่อกลุ่มผู้เลี้ยงปลาสามารถพัฒนาการเลี้ยงปลากะพงขาวคุณภาพสูงอุดมไปด้วยโอเมกา 3 และไม่มีกลิ่นสาบโคลนด้วยการควบคุมปริมาณสาร geosmin และ MIB ในเนื้อปลา ภายใต้ระบบการเลี้ยงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จนสามารถใช้เป็นอาชีพใหม่หรืออาชีพเสริมเพิ่มรายได้และแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืนแล้วพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการทำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่ออบรมส่งเสริมการใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) เพื่อยกระดับการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวคุณภาพสูงให้มีแบบแผนการผลิตเพื่อการบริโภคที่ยั่งยืน
เพื่อส่งเสริมให้เพื่อกลุ่มผู้เลี้ยงปลาใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพใหม่หรืออาชีพเสริมในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ยกระดับโภชนาการและสร้างความมั่งคงทางอาหารในชุมชนอย่างยั่งยืน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมการใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) เพื่อยกระดับการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวคุณภาพสูงตามแนวทาง BCG
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : กลุ่มเป้าหมายผู้เลี้ยงปลามีการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
45000 บาท 45000
KPI 7 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชิ้น 1
KPI 8 : จำนวนผู้เข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 9 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 10 : กลุ่มเป้าหมายผู้เลี้ยงปลามีรายได้เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมอบรมการใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) เพื่อยกระดับการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวคุณภาพสูงตามแนวทาง BCG
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการอบรม "การใช้นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ (Smart Agriculture) เพื่อยกระดับการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวคุณภาพสูงตามแนวทาง BCG"

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา  สว่างอารมย์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ  ศุภวิญญู (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน ..50.. คน ๆ ละ ..150.. บาท ..1.. มื้อ ..1.. วัน เป็นเงิน ..7,500.. บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท 0.00 บาท 7,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน ..50.. คน ๆ ละ ..35.. บาท ..2.. มื้อ ..1.. วัน เป็นเงิน ..3,500.. บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท 0.00 บาท 3,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน ..4.. ชั่วโมง ๆ ละ ..800.. บาท ..1.. คน ..1.. วัน เป็นเงิน ..800.. บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 3,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ
จำนวน ..3.. ชั่วโมง ๆ ละ ..530.. บาท ..2.. คน ..1.. วัน เป็นเงิน ..3,180.. บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,180.00 บาท 0.00 บาท 3,180.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน
จำนวน ..4.. คน ๆ ละ ..200.. บาท ..1.. วัน เป็นเงิน ..800.. บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุเกษตร เช่น ลูกพันธุ์ปลากะพง, วัตถุดิบทำอาหารปลา และสารเคมีป้องกันโรคสัตว์น้ำ ฯลฯ เป็นเงิน ..26,820.. บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 26,820.00 บาท 0.00 บาท 26,820.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การนำนักศึกษาไปฝึกฝนและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ในรายวิชา 11302221 หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และรายวิชา 11302211 คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง จำนวน 20 คน ปีการศึกษา 2567 -2568
ช่วงเวลา : 18/11/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล