22418 : โครงการ "การส่งเสริมการเลี้ยงปลานวลจันทร์ทะเลด้วยระบบไปโอฟลอค"
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลวรรณ ศุภวิญญู (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 2/11/2567 13:34:42
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  เกษตรกร บ้านหนองบัว และบ้านแหลมสันติ อำเภอละแม จังหวัดชุมพร หรือผู้ที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการ พ.ศ. 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ  ศุภวิญญู
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ยุทธนา  สว่างอารมย์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปลานวลจันทร์ทะเล ปลาไทยในพระราชดำริตั้งแต่ปี 2508 ที่ให้กรมประมงเพาะพันธุ์แล้วสำเร็จปี 2540 พร้อมส่งเสริมให้คนเลี้ยงเป็นอาชีพ แต่ไทยยังมีวิจัยน้อย ปลาชนิดนี้มีเนื้อ >60 % เนื้อละเอียดและแน่น มีกางมากแต่แยกก้างได้ด้วยเครื่อง deboner แล้วพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้มากมายทำให้ตลาดต้องการสูงเพื่อตอบสนองความต้องการจำเป็นต้องเลี้ยงหนาแน่นสูงด้วยอาหารสำเร็จรูปคุณภาพสูงเต็มที่ทำให้น้ำมีสารอินทรีย์สูงจนเป็นพิษต่อปลาจำเป็นต้องเปลี่ยนน้ำซึ่งไม่สอดคล้องกับปริมาณและคุณภาพน้ำที่ใช้ได้ จากโครงการวิจัยมูลฐาน (Fundamental Fund) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เรื่อง การเลี้ยงปลานวลจันทร์ทะเลคุณภาพสูงด้วยระบบไบโอฟลอคร่วมกับสาหร่ายพวงองุ่นในโรงเรือนควบคุมอุณหภูมิ พบว่า การเลี้ยงปลานวลจันทร์ทะเลด้วยระบบไบโอฟลอคเป็นรูปแบบใช้น้ำน้อยด้วยไบโอฟลอคที่เด่นเรื่องสลายสารพิษสูงให้พิษน้อยลงส่งผลให้น้ำสะอาดพร้อมนำกลับมาใช้ใหม่ที่เหมาะสมอย่างคงที่ทำให้ปลาแต่ละขนาดโตดีให้ผลผลิตสูงกว่าระบบทั่วไป 3-4 เท่า ด้วยอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อต่ำถือเป็นการพัฒนาต่อยอดขั้นสูงในการผลิตอาหารคุณภาพสูงปลอดภัยแบบยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมต่อยอดเชิงพาณิชย์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายใช้เป็นทางเลือกสร้างอาชีพสร้างรายได้อย่างมั่งคงยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่ออบรมถ่ายทอดการเลี้ยงปลานวลจันทร์ทะเลด้วยระบบไบโอฟลอค
เพื่อจัดอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมายที่สนใจสามารถเลี้ยงและแปรรูปปลานวลจันทร์ทะเลด้วยระบบไบโอฟลอคสร้างเป็นอาชีพเพิ่มรายได้ที่อีกทางหนึ่ง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : การอบรมส่งเสริมการเลี้ยงปลานวลจันทร์ทะเลด้วยระบบไบโอฟลอค
KPI 1 : ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้ฝึกอบรมที่จะพัฒนาตนเองเป็นประกอบการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 5 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 10 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
45000 บาท 45000
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : การอบรมส่งเสริมการเลี้ยงปลานวลจันทร์ทะเลด้วยระบบไบโอฟลอค
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
โครงการในครั้งนี้ได้มีการนำนักศึกษาเข้ามีส่วนร่วมตั้งแต่ ลงพื้นที่พบกลุ่มเป้าหมาย การจัดอบรม และการติดตามประเมินผล ดังแสดงไว้ใน OBE3 รายวิชา 11302221 หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ OBE3 11302331 อาหารและโภชนาการสัตว์น้ำ OBE3 11302211 คุณภาพน้ำเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง OBE3 11302422 นวัตกรรมระบบน้ำหมุนเวียนเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จำนวน 20 คน
ช่วงเวลา : 01/11/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล