22373 : โครงการยกระดับการสร้างรายได้เกษตรกรผู้ปลูกลำไย พื้นที่ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูนด้วยกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดดิจิทัลบน Facebook Fanpage
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
อาจารย์อุทัยวรรณ ศรีวิชัย (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/10/2567 16:10:46
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/01/2568  ถึง  31/08/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  เกษตรกร/ชุมชน ใน พื้นที่ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน จำนวน 60 คน (หัวข้อละ 30 คน)
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสารสนเทศและการสื่อสาร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณโครงการบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ อุทัยวรรณ  ศรีวิชัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณภัทร  เรืองนภากุล
อาจารย์ ดร. เชษฐ์  ใจเพชร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68Info-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC) (ด้านบริการวิชาการ)
เป้าประสงค์ 68Info-2.5 บริการวิชาการและชี้นำแนวทางต่อการพัฒนาสังคม
ตัวชี้วัด 68Info-2.11 จำนวนเงินวิจัยด้านสังคมศาสตร์
กลยุทธ์ 68Info-2.5.1 คณะฯ ให้บริการวิชาการและถ่ายทอดผลงานตามความเชี่ยวชาญที่มีประสิทธิภาพโดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่ทางด้านสื่อดิจิทัลและส่งเสริมให้บุคลากรของคณะมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน ในกิจกรรมของชุมชนที่มีการใช้สารสนเทศและการสื่อสาร เป็นกลไกในการพัฒนาชุมชนสังคม
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน มีประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพด้านเกษตร โดยมีพืชเศรษฐกิจในพื้นที่คือ ลำไย โดยที่ผ่านมาประสบปัญหาราคาผลผลิตค่อนข้างต่ำ เนื่องจากเกษตรกรขาดความรู้ในเรื่องการแปรรูปผลผลิต การทำการตลาดออนไลน์ ทำให้ผลประโยชน์ส่วนใหญ่เกิดกับ ผู้รับซื้อ(ล้ง) ซึ่งเป็นผู้กำหนดราคารับซื้อในราคาต่ำแล้วนำไปแปรรูปและส่งออกต่างประเทศ ส่งผลให้เกษตรกรบางรายประสบปัญหาขาดทุนและก่อให้เกิดปัญหาหนี้สินตามมาด้วย ทางทีมคณะทำงาน จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการสร้างคุณค่าจากผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งให้มีความแตกต่าง โดยใช้กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดดิจิทัล เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าผลผลิตลำไยและเพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชนและส่งเสริมการทำการตลาดออนไลน์เพื่อเพิ่มช่องทางการขายให้กับเกษตรกร ตั้งแต่กระบวนการสร้าง Brand (เทคนิคการถ่ายภาพ, การออกแบบผลิตภัณฑ์) รวมถึงการทำการตลาดในรูปแบบออนไลน์ ซึ่งจะช่วยเกษตรกรมีรายได้ตลอดปี

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อยกระดับผลผลิตทางการเกษตรด้วยการถ่ายทอดองค์ความรู้ ด้านการสื่อสารการตลาดดิจิทัล บน Facebook Fanpage ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกลำไย พื้นที่ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน
เพื่อพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยกระบวนการสื่อสารการตลาดให้กับเกษตรกร พื้นที่ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และ การจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรโดยตรงผ่านช่องทางออนไลน์ และ ชุมชนมีองค์ความรู้ด้านการตลาดออนไลน์ สามารถนำไปบูรณาการกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในชุมชน เช่น ผ้าฝ้าย ผ้ามัดย้อม เป็นต้น
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 30 คน 60
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 ร้อยละ 80
KPI 5 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
23880 21120 บาท 45000
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
40 40 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และ การจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรโดยตรงผ่านช่องทางออนไลน์ และ ชุมชนมีองค์ความรู้ด้านการตลาดออนไลน์ สามารถนำไปบูรณาการกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในชุมชน เช่น ผ้าฝ้าย ผ้ามัดย้อม เป็นต้น
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาผลิตภัณฑ์พร้อมจำหน่ายเพื่อส่งเสริมในการทำตลาดออนไลน์ ผ่านกระบวนการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้ ผ่านกระบวนการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดองค์ความรู้

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/01/2568 - 31/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
อาจารย์อุทัยวรรณ  ศรีวิชัย (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร  เรืองนภากุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.เชษฐ์  ใจเพชร (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) (หลักสูตรละ 1 วัน) จำนวน 40 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 1 วัน 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 6,000.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) (หลักสูตรละ 1 วัน) จำนวน 40 คน ๆ ละ 40 บาท 2 มื้อ 1 วัน 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 3,200.00 บาท 3,200.00 บาท 0.00 บาท 6,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิง (วิทยากรและทีมงาน) (ระยะทางไปกลับ ม.แม่โจ้ – เทศบาลตำบลแม่แรง 120 กิโลเมตร) จำนวน 2 คัน x 120 กิโลเมตร x 4 บาท x 2 วัน x 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 1,920.00 บาท 1,920.00 บาท 0.00 บาท 3,840.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยงาน 2 คนๆ ละ 200 บาท จำนวน 1 วัน 2 ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 400.00 บาท 400.00 บาท 0.00 บาท 800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ (หลักสูตรละ 6 ชม.) จำนวน ...6.... ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท ...2... คน ....2.... ครั้ง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,600.00 บาท 9,600.00 บาท 0.00 บาท 19,200.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ค่าถ่ายเอกสาร
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 2,760.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 2,760.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ผู้เรียนรู้เป็นกลุ่มคนหลาย Gen ความแตกต่างระหว่างวัยของผู้เรียนรู้อาจจะส่งผลกับการเรียนรู้ได้
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
สร้างนวิทยากรในชุมชนจากคนรุ่นใหม่ เพื่อนำไปสู่การต่อยอดการถ่ายทอดในพื้นที่
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
การนำนักศึกษาไปฝึกฝนและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ในรายวิชา 1. 10801271 เทคโนโลยีสำหรับการตลาด 2. 10801372 การวิเคราะห์คุณค่าและทดสอบตลาดเพื่อการสื่อสาร
ช่วงเวลา : 01/01/2568 - 31/05/2568
ตัวชี้วัด
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล