22352 : โครงการเกษตรอินทรีย์ วิถีประเพณีล้านนา กินอยู่เพื่อสุขภาพ ตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นายศักดิ์นรินทร์ แก่นกล้า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 18/10/2567 15:55:18
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
20/10/2567  ถึง  20/10/2567
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  105  คน
รายละเอียด  1.ที่ปรึกษาคณบดี 1 คน 2.คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ 1 คน 3.บุคลากรอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ 10 คน 4.วิทยากร 2 คน 5.อาสาสมัครชุมชน 40 คน 6.นักศึกษา 51 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานรองยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ผลผลิตผลงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมหลักส่งเสริมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แผนงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กองทุนทำนุศิลปวัฒนธรรม งบเงินอุดหนุนทั่วไป (โครงการประเพณีล้านนา เกษตร วิถีสุขภาพ) 2568 8,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
อาจารย์ สุรัช  สุนันตา
อาจารย์ อมรเลิศ  พันธ์วัตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จริยาพร  ศรีสว่าง
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
นาง มาลี  ล้วนแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะพยาบาลศาสตร์
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.1.9 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ 68 MJU 2.1.9.2 ส่งเสริมกิจกรรมกศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.2.1 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านทุนทางวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น
กลยุทธ์ 68 MJU 2.4.1.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมหรือวัฒนธรรมการเกษตร มีการบูรณาการกับกิจกรรม นศ. การเรียนการสอน และการวิจัย
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 68 MJU 2.4.2.1 พัฒนาแผนและกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
กลยุทธ์ 68 MJU 2.4.2.2 พัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมการเกษตร ที่สอดคล้องกับ IWA และยุทธศาสตร์สำคัญของมหาวิทยาลัย
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก MOC
เป้าประสงค์ พยบ68-2.1 ผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาที่ก้าวทันต่อโลกสมัยใหม่และเป็นนักปฏิบัติที่เชี่ยวชาญ
ตัวชี้วัด พยบ68-2.1.5 ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่ผ่านกระบวนการพัฒนาพัฒนาให้เป็นพลเมืองโลก ด้วยกระบวนการทักษะในศตวรรษที่ 21  (mju 2.1.9)
กลยุทธ์ พยบ68-2.1.5.1 ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ที่มุ่งเน้นทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตอย่างแท้จริง สร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และส่งเสริมอัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้ด้วยกิจกรรมที่ทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
กลยุทธ์ พยบ68-2.1.5.2 ส่งเสริมกิจกรรมกศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ใกล้ชิดกับชุมชนและเกษตรกร และการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างจิตสาธารณะและจิตสำนึกที่ดีแก่นักศึกษา และภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัย
เป้าประสงค์ พยบ68-2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับชุมชน/ชาติ
ตัวชี้วัด พยบ68-2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ (mju 2.3.2)
กลยุทธ์ พยบ68-2.3.2 สร้างความสำเร็จและประเมินสัมฤทธิ์ผลของโครงการบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด พยบ68-2.3.3 จำนวนกิจกรรม/โครงการด้านบริการวิชาการ
กลยุทธ์ พยบ68-2.3.3 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการบริการวิชาการ
เป้าประสงค์ พยบ68-2.4 เป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด พยบ68-2.4.1 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมที่บูรณาการกับพันธกิจอื่น (mju 2.4.1)
กลยุทธ์ พยบ68-2.4.1 พัฒนากิจกรรมให้มีการบูรณาการเรียนการสอน/การวิจัย/บริการวิชาการ กับองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น เพื่อการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด พยบ68-2.4.2 จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องหรือตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย (mju 2.4.2)
กลยุทธ์ พยบ68-2.4.2 พัฒนากิจกรรมให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย/คณะ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ตัวชี้วัด พยบ68-2.4.3 จำนวนกิจกรรม/โครงการด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (mju 2.4.3)
กลยุทธ์ พยบ68-2.4.3 ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมทางด้านศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น เพื่อการดูแลสุขภาพ
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ พยบ68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัย/คณะ ที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด พยบ68-1.1.4 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University) (mju 1.1.6)
กลยุทธ์ พยบ68-1.1.4 สนับสนุนและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ในปีการศึกษา 2567 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้มีการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ในรายวิชาโภชนศาสตร์ รหัสวิชา 11701 216 ซึ่งแนวคิดด้านโภชนาการ การประเมินภาวะโภชนาการในระดับบุคคล โภชนบำบัดโรคและปัญหาสุขภาพ รวมทั้งแนวทางการให้คำแนะนำด้านโภชนาการที่เหมาะสม การบริโภคอาหารเกษตรอินทรีย์เพื่อสุขภาพ ในการส่งเสริมให้นักศึกษามีผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชาที่ดี จำเป็นต้องกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน และการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long Lear ) ในการส่งเสริมพฤติกรรมทางโภชนาการที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่สำคัญของพยาบาลในการด้านการสอนและให้คำแนะนำเพื่อผลลัพธ์ที่ดีทางด้านสุขภาพ กว่าสองทศวรรษที่ผ่านมาแนวคิด ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น การแพทย์แผนไทยและพื้นบ้าน ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางเริ่มมีการบูรณาการสู่ชีวิตประจําวัน เช่น สมุนไพร การนวด เป็นต้น ทำให้เกิดแนวคิดการฟื้นฟู สืบค้น ถอดความรู้ เพื่อสืบทอดและรักษา ‘คุณค่า’ ของภูมิปัญญาท้องถิ่นและการแพทย์แผนไทยมากขึ้น โดยภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ เป็นองค์ความรู้จากการสั่งสมประสบการณ์ เน้นสมดุลสุขภาพ ให้คุณค่าต่อสุขภาพองค์รวม โดยพบว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นล้านนาในการส่งเสริม ปกป้องและดูแลสุขภาพบูรณาการเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ความเชื่อและพิธีกรรมถูกผสมผสานในการดูแลเพื่อสุขภาวะทางกายและอารมณ์ โดยใช้หลักการสำคัญคือ เบญจ อ. สู่อายุยืน เริ่มที่ อาหารกินตามธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ออกกำลัง กิจกรรมตามวิถี อารมณ์ มุ่งสู่ศีลธรรมจิตใจเบิกบาน อากาศดี บริสุทธิ์ปลอดมลภาวะ และเอื้ออาทร ห่วงใยใส่ใจกัน เป็นการดูแลทั้งกายและใจตามแนวคิดสุขภาพองค์รวม สามารถนำมาบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นและสากล เพื่อ ‘การดูแลสุขภาพร่วมสมัย’ เหมาะกับบริบทสังคมวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ (ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ และคณะ, 2563) ในด้านวัฒนธรรมการเกษตรในท้องถิ่น “ชุมชนไทลื้อบ้านลวงเหนือ" อำเภอดอยสเก็ด เป็นชุมชนที่มีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม และมีวัฒนธรรมที่มีคุณค่าที่เหมาะแก่การสืบสาน และอนุรักษ์คู่วัฒนธรรมล้านนา ทั้งด้านภาษา อาหาร การแต่งกาย และการจัดทำของใช้ เช่น ตุ๊กตาไม้ กระดาษสา เป็นต้น ไทลื้อใช้ชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีการสร้างบ้านตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในด้านโภชนาการ ไทลื้อมีคำกล่าวทักทาย คือ“อยู่ดี กินหวาน” ก่อนที่จะรู้จักคำว่าสวัสดี ถือเป็นคำอวยพรให้กับผู้มาเยือนที่ถือในที่เป็นเอกลักษณ์ด้านอาหารไทลื้อที่ตกทอดกันมา โดยมีอาหารพื้นถิ่นข้าวแคบอาหารหลักและอาหารว่าง ผัดไทยไทลื้อ ที่ใช้เส้นถั่วเขียวเหนียวนุ่มที่ถูกคลุกเคล้าน้ำซอส ถั่วฝักยาว กุ้งแห้ง รสชาติกลมกล่อมเข้ากันดี, โสะบะก้วยเต้ด หรือส้มตำมะละกอไทลื้อ เน้นการใส่พริกแห้งคั่ว ถั่วดินคั่ว ของสด น้ำมะขาม ปลาร้า และอ้อย, ข้าวแคบ ข้าวจี่น้ำพริกตาแดง ไข่ป่าม ซึ่งเป็นอาหารพื้นเมืองเหนือที่ปรุงไข่ไก่ให้สุกด้วยวิธีป่าม (ปิ้ง) โดยใช้ไข่ไก่ปรุงรสใส่มะเขือเทศและต้นหอมปิ้งบนใบตอง เมี่ยงคำสมุนไพรไทลื้อ และขนมวง รวมทั้งได้มีการพัฒนาเป็นกลุ่มเกษตรอินทรีย์ และกลุ่มสมุนไพร ดำเนินการในรูปแบบในวิสาหกิจชุมชน ที่เหมาะสมในการจัดให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน โดนักศึกษาจะได้นำความรู้จากรายวิชาโภชนาศาสตร์ไปแลกเปลี่ยน และแนะนำ ได้แก่ การบริโภคอาหารปลอดภัย การใช้อาหารบำบัดโรคตามวิถีของอาหารพื้นบ้านล้านนา และการใช้สมุนไพรลดสารพิษ นอกจากนี้ยังได้ใช้ความรู้ในการบริการประเมินภาวะโภชนาการ เพื่อการคัดกรองโรคเบื้องต้นอีกด้วย การบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการจัดการศึกษาพยาบาล จึงได้ซึ่งมีความสำคัญต่อการพัฒนาทั้งผู้เรียน ผู้สอน และสถาบันการศึกษา โดยพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทัศนคติทักษะปฏิบัติ และผลลัพธ์การเรียนรู้ทางวิชาชีพ ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสมรรถนะทางวิชาชีพที่ดีขึ้น พัฒนาประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนตามสภาพการณ์จริงของผู้สอน รวมทั้งสถาบันการศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ด้านสุขภาพ ตอบสนองความต้องการของชุมชน สู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ (การบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน พิมผกา ปัญโญใหญ่*, เทวาพร ศุภรักษ์จินดา**, วราภรณ์ สระมัจฉา***) การบริการวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรายวิชาโภชนศาสตร์ เป็นการถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการในการเสริมสร้างสุขภาพสู่ชุมชน สอดคล้องกับจุดเน้นของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่มีมีองค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัย ร่วมกับการจัดกิจกรรมเพื่อทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมตามวถีล้านนาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ด้านการเกษตรของมหาวิทยาลัยที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนวัฒนธรรมการเกษตร ในท้องถิ่น นำมาการบูรณาการกับกิจกรรมนักศึกษา การเรียนการสอน และการวิจัย จากความสำคัญดังกล่าว ดังกล่าวจึงได้จัดโครงการบูรณาการศิลปวัฒนธรรม/ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับรายวิชาโภชนศาสตร์ และการบริการวิชาการครั้งนี้ขึ้น เพื่อให้นักศึกษา อาจารย์และบุคลากรของคณะพยาบาลศาสตร์ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม ได้มีความรู้ความเข้าใจด้านเกษตรอินทรีย์และอาหารพื้นบ้านปลอดภัย และตระหนักถึงคุณค่าวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีของประชาชนในชุมชนต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ วิถีประเพณีล้านนา กินอยู่เพื่อสุขภาพ ตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
2.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ และการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
3.เพื่อให้อาสาสมัครชุมชนได้รับคำแนะนำการบริโภคอาหารปลอดปลอดภัย การบริโภคอาหารตามภาวะโภชนาการและสอดคล้องกับวิถีชุมชน
4.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ วิถีประเพณีล้านนา กินอยู่เพื่อสุขภาพ ตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ วิถีประเพณีล้านนา อาหารบำบัดโรค อาหารปลอดภัยในการกินอยู่เพื่อสุขภาพ
KPI 1 : รายวิชาที่บูรณาการกับศิลปวัฒนธรรม การเรียนการสอน และบริการวิชาการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 รายวิชา 1
KPI 2 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 3 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 4 : ผู้ร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ วิถีประเพณีล้านนา กินอยู่เพื่อสุขภาพ ตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 5 : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการในภาพรวม
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 6 : ผู้เข้าร่วมโครการมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ วิถีประเพณีล้านนา กินอยู่เพื่อสุขภาพ ตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
3.51 ค่าเฉลี่ย 3.51
KPI 7 : อาสาสมัครชุมชนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ และการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น และได้รับคำแนะนำ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ วิถีประเพณีล้านนา อาหารบำบัดโรค อาหารปลอดภัยในการกินอยู่เพื่อสุขภาพ
ชื่อกิจกรรม :
จัดโครงการเกษตรอินทรีย์ วิถีประเพณีล้านนา กินอยู่เพื่อสุขภาพ ตามรอยพ่ออย่างพอเพียง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 20/10/2567 - 20/10/2567
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จริยาพร  ศรีสว่าง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
อาจารย์อมรเลิศ  พันธ์วัตร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์สุรัช  สุนันตา (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.อาษิรญา  อินทนนท์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายศักดิ์นรินทร์  แก่นกล้า (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.สาวิตรี  ทิพนี (ผู้รับผิดชอบรอง)
รองศาสตราจารย์สิริรัตน์  จันทรมะโน (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ปรเมษฐ์  อินทร์สุข (ผู้รับผิดชอบรอง)
น.ส.ศกุนตลา  จินดา (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางรัตนา  กันตีโรจน์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์รัตนาวดี  แก้วเทพ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์กาญจนา  เตชาวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์รัตนาภรณ์  แบ่งทิศ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์อัณณ์ณิชา  วุฒิกุล (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์บุษกร  ยอดทราย (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.ขนิษฐา  วิศิษฏ์เจริญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์หยาดพิรุณ  เสาร์เป็ง (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ศุภวรรณ  ใจบุญ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์ ดร.วรรณภา  พิพัฒน์ธนวงศ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
อาจารย์เบญจมาศ  ถาดแสง (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
7,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 500.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 8000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 11701216 โภชนศาสตร์ บทที ่ 15 เกษตรอินทรีย์และการบริโภคอาหารเกษตร อินทรีย์เพื่อสุขภาพ ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับกิจกรรมโครงการ ทำให้นักศึกษามีความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ การบริโภคอาหารที่ปลอดภัยส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี
ช่วงเวลา : 20/10/2567 - 20/10/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เรียนรู้เกียวกับวิถีประเพณีล้านนา ในการกินอยู่เพื่อสุขภาพ และการตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
ช่วงเวลา : 20/10/2567 - 20/10/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ด้านบริการวิชาการ นักศึกษาได้ลงพื้นที่ได้ฝึกปฏิบัติจริงในการให้บริการวิชาการแก่อาสาสมัครชุมชนในการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น (การหาปริมาณน้ำตาลในเลือด และตรวจตรวจสารพิษจากยาฆ่าแมลงในเลือด)
ช่วงเวลา : 20/10/2567 - 20/10/2567
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ