22350 : การขับเคลื่อนเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์เพื่อพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหาร “หนองหาร บ้านเฮา ปี 2”
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 
นางสาวณัจฉรียา ชัยประภา (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/10/2567 16:18:49
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายนอก
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/06/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  60  คน
รายละเอียด  กลุ่มเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยนานาชาติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน โครงการบริการวิชาการในลักษณะโครงการ (Project base) เพื่อบรูณาการเชิงยุทธศาสตร์ แหล่งงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 (เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี) 2568 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร. จิระชัย  ยมเกิด
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
วิทยาลัยนานาชาติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการกำกับติดตามแบบบูรณาการ
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2567 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67-70 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก (SPO)
เป้าประสงค์ 67-70 MJU 1.1 ความสำเร็จของการบริหารจัดการและพัฒนามหาวิทยาลัยตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัด 67-70 MJU 1.1.1 ร้อยละความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ 67-70 MJU 1.1.1.1 สนับสนุนและขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายสภามหาวิทยาลัยทุกด้านให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2567] ประเด็นยุทธศาสตร์ 67 MJU-IC มิติที่ 2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 67 MJU-IC 2.3 การให้บริการวิชาการเพื่อสังคม ชุมชนด้วยองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัด 67 MJU-IC 2.3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 67 MJU-IC ส่งเสริมและผลักดันผลกระทบด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากการบริการวิชาการ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีเป็นอยู่ระหว่างความเป็นเมืองและความเป็นชนบท ลักษณะทางกายภาพของชุมชนเป็นพื้นที่ราบลุ่มมีแหล่งน้ำทางการเกษตรอย่างอุดมสมบูรณ์ จึงประกอบอาชีพหลักคือ การเกษตร เช่น ทำสวนผัก ทำนา สวนผลไม้ เป็นต้น ซึ่งจากการวิเคราะห์ จุดแข็งและโอกาสการทำเกษตรกรรมของกลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับปลอดภัย เนื่องจากมีการปลูกพืชผักในบริเวณชุมชนและบริเวณบ้านของเกษตรกรและผลผลิตตลอดทั้งปี มีการส่งผลผลิตขายทั้งในระดับการขายปลีกและส่ง ด้านการมีส่วนร่วม กลุ่มเกษตรกรมีความร่วมมือในการดำเนินการขับเคลื่อนด้านการทำการเกษตรกรอย่างเข้มแข็ง ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากผู้นำชุมชน ประธานชุมชน ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีนโยบายที่เข้มแข็ง อย่างไรก็ตาม การทำการเกษตรและการผลิตพืชอาหารปลอดภัยของชุมชนนั้น ยังพบปัญหาและจุดอ่อนในด้านการจัดการฟาร์มที่เป็นระบบมาตรฐานการปฏิบัติทางเกษตรที่ดีและการผลิตปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมและปลอดภัย โดยเฉพาะความปลอดภัยทางด้านอาหาร ซึ่งจากรายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตจังหวัดเชียงใหม่ ในการเยี่ยมเสริมพลังติดตามการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอสันทราย (พชอ.สันทราย) จังหวัดเชียงใหม่ ณ สำนักงานเทศบาลเมืองแม่โจ้ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2567 พบว่า ประเด็นสำคัญของการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอสันทราย ได้แก่ ด้านอาหารปลอดภัย โดยนายแพทย์วรวุฒิ โฆวัชรกุล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสันทราย ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ผู้ป่วยของโรงพยาบาลสันทรายว่า พบสถิติผู้ป่วยโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารในพื้นที่มากที่สุด ซึ่งอาจมีเหตุปัจจัยมาจากการรับประทานอาหารที่ไม่ปลอดภัย และมีสารเคมีตกค้างเกินมาตรฐาน นอกจากนี้ ยังประสบปัญหาต้นทุนด้านปัจจัยการผลิต การปรับปรุงดิน การเพิ่มสารอาหารพืช และราคาผลผลิตด้านการตลาด จึงทำให้ไม่สามารถเพิ่มมูลค่าและห่วงโซ่คุณค่าได้ ทำให้เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน และไม่เป็นที่รู้จักของตลาดได้อย่างกว้างขวาง โดยในปี 2566 ที่ผ่านมา ได้มีการดำเนินงานการสร้างต้นแบบศูนย์สาธิตแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ “พ่อปลูก ลูกสร้าง หนองหาร บ้านเฮา”สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ในพื้นที่ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของศูนย์สาธิตเพื่อมุ่งเน้นการสร้างชุมชนพึ่งตนเองและการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการสร้างชุมชนต้นแบบการพัฒนาอย่างยั่งยืน ดังนั้น เพื่อต่อยอดและขับเคลื่อนการสร้างชุมชนเกษตรอินทรีย์ จึงมีแนวทางในการสร้างเครือข่ายไปยังชุมชนใกล้เคียงและจัดทำโครงการการขับเคลื่อนเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์เพื่อพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหาร “หนองหารบ้านเฮา ปี 2” โดยมีกิจกรรมหลักดังนี้ คือ 1) กิจกรรมการสร้างเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์เพื่อการพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหาร 2) กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตพืชและสินค้าตามมาตรฐาน และการจัดทำระบบควบคุมภายในและการจัดทำเอกสารเพื่อการรับการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic) 3) กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้การปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มสารอาหารพืชปัจจัยการผลิต น้ำหมักชีวภาพ และฮอร์โมนจากพืชและสัตว์ 4) กิจกรรมการสร้างความมั่นคงทางอาหารหนองหารบ้านเฮา และ 5) กิจกรรมสร้างช่องทางการตลาดอาหารปลอดภัยสร้างรายได้ชุมชน ทั้งนี้เพื่อขยายเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์ใกล้เคียงและสร้างพื้นที่ที่มีความมั่นคงปลอดภัยทางอาหารต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์ในการพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหาร
เพื่อพัฒนามาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารของเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์
เพื่อส่งเสริมช่องทางการตลาดสินค้าเกษตรสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารของเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : เกิดเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์ จำนวน 2 กลุ่ม
KPI 1 : ช่องทางการตลาดอาหารปลอดภัยสร้างรายได้ชุมชน
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ช่องทาง 1
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
60 คน 60
KPI 3 : เกษตรกรที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) หรือเกษตรอินทรีย์ (Organic)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 มาตราฐาน 1
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 5 : จำนวนองค์ความรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 องค์ความรู้ 4
KPI 6 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.3 ล้านบาท 0.3
KPI 7 : การผลิตปัจจัยการผลิต ได้แก่ การปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มสารอาหารพืช น้ำหมักชีวภาพและฮอร์โมนพืช
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
90 ร้อยละ 90
KPI 10 : ต้นแบบพื้นที่ที่มีความมั่นคงทางอาหารของเครือข่ายได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานเกษตร
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 แห่ง 2
KPI 11 : จำนวนเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์สู่ตลาดพืชอาหารมูลค่าสูง
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 กลุ่ม 2
KPI 12 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
85 ร้อยละ 85
ผลผลิต : เกิดการผลิตพืชและสินค้าตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic)
ผลผลิต : เกิดการผลิตปัจจัยการผลิต ได้แก่ การปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มสารอาหารพืช น้ำหมักชีวภาพและฮอร์โมนพืช จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์
ผลผลิต : ต้นแบบพื้นที่ที่มีความมั่นคงทางอาหารของเครือข่ายได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานเกษตร จำนวน 2 แห่ง
ผลผลิต : ช่องทางการตลาดอาหารปลอดภัยสร้างรายได้ชุมชน จำนวน 1 ช่องทาง
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : เกิดเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์ จำนวน 2 กลุ่ม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมการสร้างเครือข่ายชุมชนมาตรฐานสินค้าเกษตรสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเกษตรอินทรีย์เพื่อการพัฒนา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/06/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย  ยมเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 200 บาท 1 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
24,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คนๆละ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น ปากกา กระดาษ ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
12,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น ซีดี หมึกปริ้น ฯลฯ
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
13,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 13,700.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 66500.00
ผลผลิต : เกิดการผลิตพืชและสินค้าตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic)
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตพืชและสินค้าตามมาตรฐาน การจัดทำระบบควบคุมภายในและการจัดทำเอกสารเพื่อการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic)

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/06/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย  ยมเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 200 บาท 1 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
24,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คนๆละ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
8,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40800.00
ผลผลิต : เกิดการผลิตปัจจัยการผลิต ได้แก่ การปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มสารอาหารพืช น้ำหมักชีวภาพและฮอร์โมนพืช จำนวน 2 ผลิตภัณฑ์
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดองค์ความรู้การปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มสารอาหารพืชปัจจัยการผลิต น้ำหมักชีวภาพ และฮอร์โมนจากพืช

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/06/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย  ยมเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 200 บาท 1 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คนๆละ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
ค่าวัสดุเกษตร เช่น เมล็ดพันธุ์ ดิน แกลบ เป็นต้น
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 54800.00
ผลผลิต : ต้นแบบพื้นที่ที่มีความมั่นคงทางอาหารของเครือข่ายได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานเกษตร จำนวน 2 แห่ง
ชื่อกิจกรรม :
การพัฒนาการผลิต การแปรรูป และการถนอมอาหารตามหลักโภชนาการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/06/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย  ยมเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 200 บาท 1 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายองค์ความรู้พร้อมขาตั้งเอ๊กซ์สแตนด์
จำนวน 6 ชุด ๆละ 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,800.00 บาท 0.00 บาท 16,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คนๆละ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 57600.00
ผลผลิต : ช่องทางการตลาดอาหารปลอดภัยสร้างรายได้ชุมชน จำนวน 1 ช่องทาง
ชื่อกิจกรรม :
สร้างช่องทางการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยสร้างรายได้ชุมชน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/10/2567 - 30/06/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยเอก ดร.จิระชัย  ยมเกิด (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 200 บาท 1 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท 0.00 บาท 24,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 60 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ทางการตลาด
จำนวน 1 ครั้ง ๆละ 17,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,000.00 บาท 0.00 บาท 17,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือ
จำนวน 150 เล่ม ๆละ 150 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 22,500.00 บาท 0.00 บาท 22,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนวิทยากร (ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 7 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 1 คนๆละ 2 วัน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท 0.00 บาท 8,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 80300.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
รายการเอกสารประกอบ
อ.จิระชัย.pdf
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล