22344 : โครงการผลิตภัณฑ์จากใบไม้เคลือบน้ำยางพารา
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ปวริศา ศรีสง่า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/10/2567 10:38:10
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  30  คน
รายละเอียด  ผู้สนใจ เกษตรกร นักเรียน นักศึกษา จำนวน 30 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิไลวรรณ  พรประสิทธิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศิวโรฒ  บุญราศรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐิตินันท์  รัตนพรหม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดริญญา  มูลชัย
อาจารย์ ดร. วรวรรณ  เพชรอุไร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด 2.3.1 EN68 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ตึง หรือ พลวง (Dipterocarpus tuberculatus Roxb.) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง มีความสูงตั้งแต่ 20-30 เมตร ทิ้งใบในช่วงสั้น ๆ ในฤดูร้อน ลักษณะใบเป็น ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ โดยพบต้นพลวงแพร่กระจาย และใบหลุดร่วงง่ายกลายเป็นขยะ ส่งผลให้ใบตองตึงแห้งติดไฟ เกิดไฟป่า ส่งผลให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม ประโยชน์ของใบตองตึงสามารถนำใบสดมาใช้ห่ออาหาร สามารถเก็บใบมาใช้ทำหลังคา ฝากั้นห้องหรือมุงบังที่อยู่อาศัยได้ (วิทยาและนัทธี, 2556) น้ำยางธรรมชาติ หรือ น้ำยางพารา (Natural Rubber; NR) เป็นพอลิเมอร์ ธรรมชาติโดยส่วนใหญ่มาจากพันธุ์ Hevea brasiliensis มีการนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ เนื่องจากมีสมบัติเด่นด้านความยืดหยุ่น (Elasticity) สูง และมีสมบัติเชิงกล (Mechanical Property) ที่ดี สามารถนำไปทำสารเคลือบได้ (ชัยวัฒน์, 2526) เนื่องจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้มียุทธศาสตร์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ Organic University เป็นลำดับแรกโดยการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการในการเกษตรของมหาวิทยาลัยเพื่อให้เป็นต้นแบบของการทำเกษตรอินทรีย์ที่ดีต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ยังสนับสนุนให้มีการนำแนวทางพระราชดำริเกี่ยวกับการส่งเสริมชุมชนหรือการพัฒนาชนบทที่สำคัญ ๆ คือ การที่ทรงมุ่งช่วยเหลือพัฒนา คือ การที่ทรงมุ่งช่วยเหลือพัฒนาให้เกิดการพึ่งตนเองได้ของคนในชนบทเป็นหลัก กิจกรรมและโครงการตามแนวพระราชดำริที่ดำเนินการอยู่หลายพื้นที่ทั่วประเทศในปัจจุบันนั้นล้วนแล้วแต่มีเป้าหมายสุดท้ายอยู่ที่การพึ่งตนเองได้ของราษฎรทั้งสิ้น ในการพัฒนาทั้งด้านอาชีพและส่งเสริมการเกษตร ให้เกษตรกรสามารดำรงชีพอยู่ได้อย่างมั่นคงเป็นปึกแผ่นนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดำเนินการแนะนำสาธิตให้ประชาชนดำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาทเป็นไปตามหลักการพัฒนาสังคมชุมชนอย่างแท้จริง กล่าวคือ ทรงมุ่งช่วยเหลือพัฒนาให้เกิดการพึ่งตนเองได้ของคนในชนบทเป็นหลักดังนั้น การที่ราษฎรในชนบทสามารถพึ่งตนเองได้มากยิ่งขึ้นนั้น สืบเนื่องจากแนวพระราชดำริด้านการพัฒนาที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานแก่เกษตรกรทั้งหลายประการ ซึ่งคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีหลักสูตรเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ซึ่งจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับยางธรรมชาติ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ยาง และมีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงมีความสามารถที่จะถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับเกษตรกรและผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นการนำความรู้สู่ชุมชนเพื่อเพิ่มมูลค่ายางพาราและรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมยางทางภาคเหนือที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และทำให้เกษตรกรสามารถนำน้ำยางพารามาใช้สำหรับการเตรียมผลิตภัณฑ์ใช้เองได้ ดังนั้นโครงการฝึกอบรมผลิตภัณฑ์จากใบไม้เคลือบน้ำยางพาราจึงเป็นอีกโครงการหนึ่งที่จะสามารถช่วยสนับสนุนการพึ่งพาตนเองได้

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีสามารถเตรียมใบไม้เคลือบน้ำยางพาราได้
ส่งเสริมชุมชนให้สามารถพึ่งตนเองได้ในด้านอาชีพได้
เพื่อบูรณาการบริการวิชาการกับการจัดการเรียนการสอน
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : องค์ความรู้ผลิตภัณฑ์จากใบไม้เคลือบน้ำยางพารา
KPI 1 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
KPI 2 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
70 ร้อยละ 70
KPI 3 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 5 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
30 คน 30
KPI 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 คน 10
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : องค์ความรู้ผลิตภัณฑ์จากใบไม้เคลือบน้ำยางพารา
ชื่อกิจกรรม :
การถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์จากใบไม้เคลือบน้ำยางพารา

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิไลวรรณ  พรประสิทธิ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (เจ้าหน้าที่และผู้เข้าอบรม)
จำนวน 45 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 6,750 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (เจ้าหน้าที่และผู้เข้าอบรม)
จำนวน 45 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 3,150 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 9,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 9,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคบรรยาย จำนวน 1 ชั่วโมง ๆละ 800 บาท 3 คน 1 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมง ๆละ 320 บาท 5 คน 1 วัน เป็นเงิน 6,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา แฟ้ม โปสเตอร์ แผ่นพับ ฯลฯ = 4,000 บาท
วัสดุเกษตร เช่น ใบตองตึง ฯลฯ = 2,000 บาท
วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถังพลาสติก ไม้พายซิลิโคน ผ้ากันเปื้อน กระบะพลาสติก ถุงซิปล็อก ฯลฯ = 4,500 บาท
วัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น น้ำยาง และสารเคมี ฯลฯ = 15,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 26,300.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 26,300.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 45000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล