22342 : โครงการแปรรูปผลผลิตเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าและลดของเสียสู่สิ่งแวดล้อมด้วยนวัตกรรม
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ปวริศา ศรีสง่า (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 6/11/2567 14:09:41
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
29/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  100  คน
รายละเอียด  เกษตรกร ประชาชนทั่วไป จำนวน 100 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน 2568 300,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา  นาคประสม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นำพร  ปัญโญใหญ่
น.ส. ปวริศา  ศรีสง่า
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆเพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด 2.3.1 EN68 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจในปัจจุบันของประเทศไทย ได้เร่งรัดการพัฒนาด้านธุรกิจการเกษตร โดยการพัฒนาสถาบันด้านการเกษตร ในเชิงธุรกิจ รวมทั้งการสนับสนุนสถาบันการศึกษาต่างๆ เพื่อพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการเกษตรทุกสาขา และดำเนินการให้บุคลากรของสถาบันการศึกษา ได้ทำหน้าที่สนับสนุนและการส่งเสริมการเกษตร พัฒนารูปแบบการจัดการด้านผลิต การแปรรูป การบรรจุภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งผลิต เร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรม อีกทั้งยังส่งเสริมการผลิตสินค้าใหม่ที่ให้ผลตอบแทนสูง โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรต่อผลผลิตมวลรวมของประเทศอย่างต่อเนื่อง สำหรับภาคอุตสาหกรรมได้พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพ มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากลและมีโอกาสในการขยายตลาด เช่น สินค้าเกษตรอินทรีย์ สินค้าพืชสมุนไพร และ เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร นอกจากคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคใช้ตัดสินใจในการยอมรับและบริโภคสินค้า องค์ประกอบสำคัญที่มีผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ ได้แก่ วัตถุดิบ กระบวนการแปรรูป อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ ในการแปรรูป ผู้ปฏิบัติงาน การบริหารจัดการเงินทุนที่ใช้ในการประกอบการ การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสามารถรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้คงที่ก่อนถึงมือผู้บริโภค ไม่ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม การลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากกระบวนการผลิตและการแปรรูป การนำของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตมาแปรรูปเป็น ปุ๋ย วัสดุปรับปรุงดิน และเชื้อเพลิงทดแทน ลดการปล่อยมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม สำหรับมหาวิทยาลัยแม่โจ้นั้น ได้มียุทธศาสตร์ด้านการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ Organic Green and Eco University โดยการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการในด้านการเกษตรของมหาวิทยาลัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางเกษตรกรรมด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมในพื้นที่ ให้เป็นต้นแบบของการทำการเกษตรปลอดภัย การเกษตรอินทรีย์ และการเกษรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อไปในอนาคต ดังนั้น คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีพันธกิจหลักเกี่ยวกับ ด้านการเรียนการสอน วิจัยและบริการวิชาการ ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม สมาร์ทฟาร์มและอุตสาหกรรมเกษตร รวมถึงด้านการแปรรูปอาหารและผลผลิตทางการเกษตร การบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษา การจัดการเศษชีวมวลเพื่อใช้เป็น ปุ๋ย วัสดุปรับปรุงดิน และเชื้อเพลิงด้านพลังงานทดแทน จึงต้องทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน นำองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านต่างๆที่กล่าวมา ออกไปเผยแผ่ให้กับเกษตรกรและชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและสามารถบริหารจัดการการแปรรูปผลผลิตเกษตร เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตร เพื่อยกระดับมูลค่าสินค้าเกษตรชุมชนให้สามารถเข้าแข่งขันในตลาดทั่วไป และการแข่งขันในตลาดออนไลน์ได้ และเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายในครัวเรือนของเกษตรกร เพื่อเป็นฐานการพัฒนาชุมชน สังคมและประเทศต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตเกษตรเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและชุมชนในท้องถิ่น
เพื่อส่งเสริมการแปรรูปเศษชีวมวลเกษตรในท้องถิ่นเป็นสินค้าเพิ่มรายได้และลดของเสียจากกระบวนการแปรรูปสู่สิ่งแวดล้อม
เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการแปรรูปผลผลิตเกษตรและแปรรูปเศษชีวมวลให้แก่กลุ่มเกษตรกรและชุมชนที่ร่วมโครงการ
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : องค์ความรู้การแปรรูปผลผลิตเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าและลดของเสียสู่สิ่งแวดล้อมด้วยนวัตกรรม
KPI 1 : ร้อยละของผู้รับบริการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูลเดิม
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 คน 100
KPI 6 : ร้อยละของผู้รับบริการมีการนำเศษวัสดุไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 7 : ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
4 ผลิตภัณฑ์ 4
KPI 8 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 9 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.3 ล้านบาท 0.3
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : องค์ความรู้การแปรรูปผลผลิตเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าและลดของเสียสู่สิ่งแวดล้อมด้วยนวัตกรรม
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1. ติดต่อประสานงาน ประชาสัมพันธ์โครงการ และเตรียมความพร้อมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล (ขนาด .1..x..4. เมตร) จำนวน ..4.. แผ่นๆละ 1500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท 0.00 บาท 6,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ A4 คลิปหนีบ แฟ้ม ปากกา ฯลฯ = 50,000 บาท
- วัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกปริ้นเตอร์ เม้าส์ คีย์บอร์ด ซอฟแวร์สแกน ฯลฯ = 64,000 บาท
- วัสดุก่อสร้าง เช่น ท่อเหล็ก ถังเหล็ก ถังพลาสติก ลวด ฯลฯ =56,000 บาท
- วัสดุงานบ้านงานครัว เช่น บรรจุภัณฑ์ ถุงพลาสติก ถุงขยะ ผ้าขาวบาง ถาด สแตนเลส = 10,000 บาท
พืช ข้าว ตะไคร้ หญ้าหวาน และสมุนไพรอื่นๆ ฯลฯ =10,000 บาท

- วัสดุวิทยาศาสตร์ ถุงมือวิทยาศาสตร์ หน้ากาก ถ้วยตวง น้ำยางคอมปาวด์ ฯลฯ =20,000 บาท
- ค่าถ่ายเอกสาร = 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 214,000.00 บาท 0.00 บาท 214,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 220000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2. การผลิตไวน์ข้าวจ้าวหอมเพื่อสุขภาพ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 6,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆ ละ 200 บาท 3 วัน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3. การพัฒนาการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 6,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆละ 200 บาท 3 วัน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4. ผลิตภัณฑ์ถุงเพาะชำผสมยางพาราแบบย่อยสลาย

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 6,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆละ 200 บาท 3 วัน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5. การแปรรูปเศษชีวมวลเป็นถ่านชีวภาพสำหรับปรับปรุงดิน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ 6,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่) จำนวน 40 คนๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 2,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท 0.00 บาท 8,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1 วัน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท 2 คน 1 วัน 2,400 บาท
- ค่าตอบแทนนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน จำนวน 4 คนๆละ 200 บาท 3 วัน 2,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16000.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 6. สรุปผลการดำเนินงานและการจัดทำรายงาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 29/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นำพร  ปัญโญใหญ่ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าจ้างเหมารวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ผลและจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท 0.00 บาท 16,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 16000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล