22338 : ฐานการเรียนรู้การเลี้ยงไก่พื้นเมือง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นางดาริน ชมภูพันธ์ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 25/10/2567 15:05:00
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  55  คน
รายละเอียด  ผู้เข้าร่วมอบรม 50 คน เจ้าหน้าที่ 5 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน งบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2568 2568 45,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย ครรชิต  ชมภูพันธ์
อาจารย์ ดร. สุภารักษ์  คำพุฒ
อาจารย์ ดร. กรรณิกา  ฮามประคร
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.4 ผลการจัดอันดับ SDG Impact Ranking (Eco. University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.4.1 ผลักดันการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยและผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในส่วนที่เกี่ยวข้อง
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2 การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ 68-2.3.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสัตวศาสตร์ที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม
ตัวชี้วัด AS 68-2.15 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68-2.3.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการประสานงานด้านบริการวิชาการร่วมภาครัฐและภาคเอกชน
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ไก่พื้นเมือง เป็นสัตว์เลี้ยงที่เกษตรกรไทยนิยมเลี้ยงสืบทอดในครัวเรือนกันมานานหลายสิบปี เพราะเป็นได้ทั้งแหล่งอาหารโปรตีน และยังสามารถช่วยเพิ่มพูนรายได้ให้แก่ครอบครัว โดยเฉพาะในชนบท เกษตรกรไทยมีเวลาว่างจากการทำนา ทำไร่ หรือทำสวน ก็ทำการเลี้ยงไก่พื้นเมืองเป็นรายได้เสริม เพราะการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมืองไม่จำเป็นต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากมายนัก ไม่ต้องลงทุนทำฟาร์ม หรือเล้าไก่ที่เป็นมาตรฐานหรือมีความแข็งแรงที่ต้องใช้วัสดุก่อสร้างที่มีราคาแพง เพราะการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมืองนั้น สามารถเลี้ยงตามบ้าน คอกสุกร คอกวัว ห้างนา โดยใช้เศษอาหาร เช่น เศษข้าว รำข้าว ข้าวเปลือก ข้าวโพด เศษใบพืชผักต่าง ๆ ก็นำมาเป็นอาหารไก่ได้ และไก่พันธุ์พื้นเมืองโดยธรรมชาติแล้ว จะหากินเก่งคุ้ยเขี่ยหาแมลงตัวเล็ก ๆ เป็นอาหาร เช่น มด ปลวก และหนอนแมลงต่าง ๆ และไก่พันธุ์พื้นเมืองก็จะมีความอดทนต่อสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงได้ดี ตลอดจนมีความต้านทานต่อโรคระบาด ต่าง ๆ ได้ดีกว่าไก่ที่พัฒนาพันธุ์มาเพื่อการเลี้ยงแบบเศรษฐกิจ ดังนั้น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ควรมีการรวบรวมพันธุ์ไก่พื้นเมือง เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมที่ดีเด่น ความนิยมของการเลี้ยงไก่พื้นเมืองนั้นแยกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การเลี้ยงในลักษณะไก่สวยงามเชิงอนุรักษ์ การเลี้ยงไว้เพื่อกีฬาชนไก่ และการเลี้ยงบริโภคเนื้อไก่ โดยลักษณะเด่นของไก่พื้นเมืองคือการเลี้ยงปล่อยแบบธรรมชาติ ซึ่งนับว่าเป็นแนวทางสอดคล้องกับกระแสการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงมีความสำคัญและเป็นแหล่งเรียนรู้แก่บุคคลทั่วไปที่สนใจเข้ามาศึกษาดูงานและนำไปประกอบเป็นอาชีพ ต่อไป

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับระบบการเลี้ยงการจัดการไก่พื้นเมือง แก่ นักเรียน นักศึกษา นักส่งเสริม นักวิชาการเกษตร และเกษตรกรผู้สนใจ ที่เข้ามาศึกษาดูงาน
2. เพื่อจัดฝึกอบรมด้านการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มไก่พื้นเมือง ให้ได้มาตรฐาน ปลอดภัย
3. เพื่อให้บริการทางวิชาการแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่พื้นเมืองในท้องถิ่นรอบมหาวิทยาลัยฯ
4. เพื่อเป็นแหล่งจำหน่าย สายพันธุ์ไก่พื้นเมือง
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบมมีความรู้ด้านการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มไก่พื้นเมือง และเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบการจัดการฟาร์มไก่พื้นเมือง
KPI 1 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 2 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผลผลิต / ต้นแบบผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ชิ้น 1
KPI 4 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.045 ล้านบาท 0.045
KPI 5 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 6 : รายได้ของเกษตรกรผู้เข้าอบรมเพิ่มขึ้น
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
10 ร้อยละ 10
KPI 7 : จำนวนฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ฐาน 1
KPI 8 : จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชมฐานเรียนรู้
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
300 คน 300
KPI 9 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 10 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : ผู้เข้ารับการอบมมีความรู้ด้านการเลี้ยงและการจัดการฟาร์มไก่พื้นเมือง และเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบการจัดการฟาร์มไก่พื้นเมือง
ชื่อกิจกรรม :
1 ฝึกอบรมด้านการเลี้ยงไก่พื้นเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/06/2568 - 30/06/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายครรชิต  ชมภูพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 55 คน ๆ ละ 150 บาท 1 มื้อ1 วัน เป็นเงิน 8,250 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่)
จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท 2 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 3,850 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม ถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่ม
จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 17,100.00 บาท 0.00 บาท 17,100.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคบรรยาย
จำนวน 4.5 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท 3 คน 1 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร (บุคลากรของรัฐ) ภาคปฏิบัติ
จำนวน 1.5 ชั่วโมง ๆ ละ 800 บาท 1 คน 1 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท 0.00 บาท 4,800.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ค่าเอกสาร ปากกา แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 1,000 บาท
- วัสดุเกษตร เช่น อาหารสัตว์ ข้าวโพด รำ กากถั่วเหลือง ฯลฯ..เป็นเงิน 10,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 32900.00
ชื่อกิจกรรม :
2 การบรรยายและการสาธิตการเลี้ยงไก่พื้นเมือง

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายครรชิต  ชมภูพันธ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือเผยแพร่องค์ความรู้การเลี้ยงไก่พื้นเมือง ขนาด A5 ( 40 หน้า/เล่ม)
จำนวน 242 เล่มๆละ 50 บาท เป็นเงิน 12,100 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 12,100.00 บาท 12,100.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 12100.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล