22331 : โครงการถ่ายองค์ความรู้ด้านปัจจัยการผลิตเกษตรในระบบอินทรีย์ เพื่อลดการใช้สารเคมีภัณฑ์
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 16/10/2567 9:22:02
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
16/10/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  นักศึกษาเป็น train of the trainner กลุ่มกศน.ตำบลไผ่โทน เกษตรกร และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2568 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย สิทิไวกูล  ทิราวงศ์
นาย กิติพงษ์  วุฒิญาณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 1. การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68 MJU 1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68 MJU 1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68 MJU 1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-1.การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเชิงรุก
เป้าประสงค์ 68-1.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Intelligent Well-being Agriculture : IWA)
ตัวชี้วัด 68-1.1.6 ความสำเร็จของยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ (Organic University)
กลยุทธ์ 68-1.1.6.1 กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยเกษตรอินทรีย์ที่ชัดเจน และขับเคลื่อนกิจกรรม รวมทั้งติดตาม ประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันความต้องการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากการสารตกค้างของสารเคมีในผลผลิต ทําให้เกษตรกร สนใจปลูกพืชตามระบบเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจัยหนึ่งในการผลิตพืชระบบนี้ที่สำคัญคือผลิต ปุ๋ยชีวภาพ และ จากสภาพพื้นที่เพาะปลูกโดยทั่วไปของประเทศไทยมีประมาณอินทรียวัตถุต่อการส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตปุ๋ยชีวภาพใช้เองเพื่อปรับปรุงดิน อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนและใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ แบบพึ่งพาตนเอง แต่เกษตรกรโดยส่วนใหญ่ไม่นิยมผลิตปุ๋ยชีวภาพ ทำให้มีผู้ประกอบการผลิตปุ๋ยชีวภาพ จําหน่ายจํานวนมากในชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมักชีวภาพ เป็นต้น ดังนั้นหากผู้ผลิตมีความเข้าใจในความหมาย ความแตกต่าง ประโยชน์และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี และปุ๋ยชีวภาพ ที่ถูกต้อง เข้าใจการผลิต คุณสมบัติ และการเก็บรักษาปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี และปุ๋ยชีวภาพ ย่อมทําให้ผู้ผลิตปุ๋ยได้ตามเกณฑ์กําหนดของกรมวิชาการเกษตร จะสามารถส่งเสริมเกษตรกรให้ใช้ปุ๋ยอย่าง ถูกต้องและเกิดผลดีต่อการเพิ่มผลิตภาพของดิน ช่วยลดปริมาณขยะวัสดุอินทรีย์ ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่ดีในการ ผลิตภาคเกษตรกรรม ผู้บริโภคได้บริโภคผลผลิตที่มีคุณภาพ และซึ่งปุ๋ยเคมีมีราคาสูงและการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นเวลานาน ทําให้สภาพดินเสื่อมสภาพ การส่งเสริมการใช้ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์) ซึ่งปุ๋ยที่ผลิตขึ้นมานั้นมีลักษณะเป็นผงร่วนซุย ง่ายต่อการใช้งานและเก็บรักษา นอกจากนั้น เพื่อเป็นแรงจูงใจในการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ของเกษตรกร ซึ่งจะช่วยลดต้นทุน การผลิต รักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการสนองนโยบายรัฐบาลในการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน พร้อมเข้าสู่การเป็นครัวโลก และยังเป็นการลดการนําเข้าปุ๋ยเคมีจากต่างประเทศ

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อยกระดับความรู้ด้านดินและปุ๋ยในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ให้แก่เกษตรกร
2 เพื่อให้เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิต โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และลดการใช้ปุ๋ยเคมีลดลง
3 เพื่อให้เกิดการขยายผลการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิตอย่างยั่งยืน
4 เพื่อส่งเสริมการปลูกพืชแบบอินทรีย์ในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาความรู้/เทคนิคในการผลิตเกษตรในระบบอินทรีย์ เพื่อลดการใช้สารเคมีภัณฑ์
KPI 1 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
KPI 2 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 3 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 4 : จำนวนพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมด้านเกษตรอินทรีย์
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 พื้นที่ 1
KPI 5 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 6 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 7 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.04 ล้านบาท 0.04
KPI 8 : จำนวนปัจจัยการผลิตแบบอินทรีย์ (บิวเวอร์เรียและไตโครเดอร์มา)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
2 ผลิตภัณฑ์ 2
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาความรู้/เทคนิคในการผลิตเกษตรในระบบอินทรีย์ เพื่อลดการใช้สารเคมีภัณฑ์
ชื่อกิจกรรม :
ถ่ายทอดองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิตในระบบทําเกษตรอินทรีย์

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 16/10/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสิทิไวกูล  ทิราวงศ์ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 7,500
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น แกลบดำ กากน้ำตาล ปุ๋ยคอก หัวเชื้อบิวเวอร์เรีย หัวเชื้อไตรโครเดอร์มา เป็นต้น (เพื่อใช้ในการฝึกอบรมการทำปัจจัยการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์) เป็นเงิน 25,400 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 25,400.00 บาท 0.00 บาท 25,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 40000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา กช 321 เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน/ผษ 101 เกษตรเพื่อชีวิตกทพ261 ปฏิบัติงาน ฟาร์ม2 /ทพ330 เทคโนโลยีการผลิตไม้ผลอุตสาหกรรม/ทพ322 เทคโนโลยีการผลิตพืชสมุนไพร /ทพ260 ปฏิบัติงานฟาร์ม1 /ทพ200 เทคโนโลยีการผลิตพืช /ทพ302 เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช /ทพ403 การผลิตพืชแบบอินทรีย์/ทพ324 เทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ ฯลฯ
ช่วงเวลา : 01/11/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล