22327 : โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีและใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ชามะเกี๋ยง
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
น.ส.ถิรนันท์ กิติคู้ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 10/10/2567 11:06:16
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการบริการวิชาการ (เบิกจ่ายจากงบประมาณบริการวิชาการ)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/11/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  50  คน
รายละเอียด  กลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืนอำเภอร้องกวาง เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่สนใจ
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน เบิกจ่ายจากงบบริการวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ของสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2568 40,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
นาย อนุกูล  จันทร์แก้ว
นาย กิติพงษ์  วุฒิญาณ
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
รายชื่อที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รัฐพงศ์  ปกแก้ว
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68-2.การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68-2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68-2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68-2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

มะเกี๋ยงเป็นหนึ่งในพืชอนุรักษ์ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ซึ่งเป็นพืชที่มีศักยภาพที่จะนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน จากรายงานผลการวิจัยพบว่าส่วนของเปลือกผลสดของมะเกี๋ยงจะพบสารกลุ่มโพลีฟีนอล (Polyphenol) และแทนนิน (Tannins) ซึ่งสารทั้งสองนี้จะทำหน้าที่ในการจับอนุมูลอิสระซึ่งอนุมูลอิสระเป็นสารกระตุ้นและสาเหตุของการเกิดมะเร็ง ซึ่งหากพบสารประกอบทั้งสองชนิดนี้ในปริมาณสูงก็จะส่งผลทำให้สามารถป้องกันการเกิดโรคมะเร็งได้ (พิมพร ลีลาพรพิสิฐ, 2547) นอกจากนั้นยังพบอีกว่าสารสกัดน้ำมะเกี๋ยงมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ สามารถยับยั้งการก่อการกลายพันธุ์ที่เกิดจากสารก่อมะเร็ง โดยพบว่าสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งตับระยะเริ่มต้นในหนูที่ได้รับสารก่อมะเร็งเป็นประจำรวมทั้งอาจช่วยในการป้องกันโรคเรื้อรังชนิดต่างๆ ที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกายได้ (รวิวรรณ วงศ์ภูมิชัย, 2556) ในปัจจุบันพื้นที่เกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ได้ศึกษาเก็บรวบรวม และขยายพันธุ์พืชมะเกี๋ยงในพื้นที่ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัย จำนวนมากกว่า 500 ต้น ทั้งนี้เพื่อใช้ในการศึกษาเป็นต้นแบบในการอนุรักษ์สำหรับปลูกในพื้นที่ป่าชุมชนของพื้นที่รอบมหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งเพื่อรองรับงานวิจัยที่จะเกิดขึ้นในอนาคตของมหาวิทยาลัยฯ การศึกษาการทดสอบการปลูกพืชมะเกี๋ยงแบบระยะชิดในพื้นที่ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ อ.ร้องกวาง จ.แพร่ ทำการปลูกในระยะการปลูกแบบระยะชิด 50x50 เชนติเมตร การปลูกมะเกี๋ยงแบบแปลงชา ได้ควบคุมทรงพุ่มและตัดแต่งกิ่งต้นมะเกี๋ยงอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้ต้นมะเกี๋ยงแตกยอดเพื่อนำยอดอ่อนของมะเกี๋ยงมาใช้ในการทางานวิจัยเพื่อผลิตชาจากยอดอ่อนของพืชมะเกี๋ยง

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
1 เพื่อเป็นการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ พืชท้องถิ่น
2 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การแปรรูปชาจากพืชสมุนไพร ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้นำไปต่อยอด
3 เพื่อสนองงานโครงการพระราชดำริฯ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) ในงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น และในงานสวนพฤษศาสตร์โรงเรียน ในเครือข่ายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : พัฒนาต่อยอดผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ชามะเกี๋ยง
KPI 1 : ค่าใช้จ่ายของการให้บริการวิชาการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ประเภท : เชิงต้นทุน
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
0.0054 0.02 0.0146 ล้านบาท 0.04
KPI 2 : จำนวนผู้รับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
50 คน 50
KPI 3 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 4 : ร้อยละของโครงการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 5 : จำนวนต้นแบบผลิตภัณฑ์ (ชาจากใบมะเกี๋ยง)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1 ผลิตภัณฑ์ 1
KPI 6 : รายได้จาการจำหน่ายชามะเกี๋ยง (ทดลองตลาด)
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
1000 บาท 1000
KPI 7 : ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้ารับบริการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 ร้อยละ 80
KPI 8 : ร้อยละของโครงการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
ประเภท : เชิงเวลา
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
100 ร้อยละ 100
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : พัฒนาต่อยอดผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ชามะเกี๋ยง
ชื่อกิจกรรม :
1) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐพงศ์  ปกแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
1. ค่าวัสดุเกษตร เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อบำรุงต้นมะเกี๋ยง เป็นเงิน 5,400 บาท
2. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว เช่น ถุงซิป ผ้าขาวบาง กระด้ง กระทะ ตะหลิว เป็นต้น เป็นเงิน 15,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
5,400.00 บาท 15,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,400.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 20400.00
ชื่อกิจกรรม :
2) การถ่ายทอดความรู้เทคนิคองค์ความรู้การเป็นผู้ประกอบการ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐพงศ์  ปกแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าร่วมอบรม) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท 0.00 บาท 11,000.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
1. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 1 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรภาคปฏิบัติ (บุคลากรของรัฐ) จำนวน 1 วัน ๆ ละ 2 คน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท 0.00 บาท 3,600.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 14600.00
ชื่อกิจกรรม :
3) การทดสอบตลาด

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/11/2567 - 30/09/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายอนุกูล  จันทร์แก้ว (ผู้รับผิดชอบหลัก)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐพงศ์  ปกแก้ว (ผู้รับผิดชอบรอง)
นายกิติพงษ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
นางธนันธรณ์  วุฒิญาณ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
1. ค่าจ้างเหมาจัดทำตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ จำนวน 1 งาน ๆ ละ 5,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 5000.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
รายวิชา 11504231 ระบบการจัดการฟาร์มเกษตรตามมาตรฐานสากล
ช่วงเวลา : 01/11/2567 - 30/09/2568
ตัวชี้วัด
การบูรณาการ
เอกสารประกอบ
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล